ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การสุ่มตัวอย่างและเครื่องมือวิจัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
(Sensitivity Analysis)
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
เพื่อติดตามสถานการณ์และแนวโน้มของ
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การจัดทำ Research Proposal
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
การศึกษาผลการให้นักศึกษา ท่องชุดคำถามก่อนการสอบ รายหน่วยรายวิชาวิถีธรรมวิถี ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
CLASSROOM ACTION RESEARCH
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง น.ท.หญิง สิริรัตน์ เนียมอินทร์ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ความหมาย ประชากร (Population) กลุ่มสมาชิกทั้งหมดของสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาหรือต้องการสรุปอ้างอิง กลุ่มตัวอย่าง (Sample) กลุ่มสมาชิกของประชากรที่ถูกเลือกขึ้นมาศึกษา ด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อนำผลที่ได้ไปสรุปอ้างอิงถึงประชากร

ประชากรเฉพาะการวิจัย ประชากรทั่วไป ประชากรตามสมมติฐาน ประชากรเฉพาะการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ดีในงานวิจัย * ความเป็นตัวแทนที่ดี (Representativeness) * ความพอเพียง (Adequacy)

ขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 1. พิจารณาวัตถุประสงค์ / ปัญหาวิจัย 2. ให้คำจำกัดความประชากรของการวิจัย 3. กำหนดหน่วยของตัวอย่าง (Sampling Unit) 4. กำหนดกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) 5. กำหนดขนาดตัวอย่าง (Sample size) 6. กำหนดวิธีการเลือก / สุ่มกลุ่มตัวอย่าง

วิธีกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กำหนดโดยใช้เกณฑ์ กำหนดโดยใช้สูตร กำหนดโดยใช้ตาราง

การกำหนด n โดยใช้เกณฑ์ N เป็นหลักร้อย 15 - 30 % ของ N หลักพัน 10 - 15 % ของ N หลักหมื่น 5 - 10 % ของ N หลักแสน 1 - 5 % ของ N

การกำหนด n โดยใช้สูตร กรณีต้องการประมาณค่าเฉลี่ย สูตรหลัก

ถ้าประชากรมีขนาดใหญ่ ใช้สูตร ถ้าประชากรมีขนาดใหญ่มาก ใช้สูตร

การกำหนด n โดยใช้สูตร กรณีต้องการประมาณค่าสัดส่วน สูตรหลัก

ถ้าประชากรมีขนาดใหญ่ ใช้สูตร ถ้าประชากรมีขนาดใหญ่มาก ใช้สูตร

สูตรประมาณค่าสัดส่วนที่นิยมมาก (ไม่จำเป็นต้องทราบค่าสัดส่วนเดิม) สูตรประมาณค่าสัดส่วนที่นิยมมาก (ไม่จำเป็นต้องทราบค่าสัดส่วนเดิม) no = N / [1 + Ne2 ] เมื่อ e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ (กำหนดเอง) N = ขนาดประชากร no = ขนาดของกลุ่มอย่าง

วิธีการเลือกตัวอย่าง 1. การเลือกตัวอย่างที่ไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) 2. การเลือกตัวอย่างที่อาศัยความน่าจะเป็น (Probability Sampling)

การเลือกตัวอย่างที่ไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) 1. Accidental /Convenience Sampling 2. Purposive Sampling 3. Quota Sampling 4. Expert choice Sampling 5. Snowball Sampling 6. Haphazard Sampling

การเลือกตัวอย่างที่อาศัยความน่าจะเป็น (Probability Sampling) 1. Simple Random Sampling 2. Systematic Random Sampling 3. Stratified Random Sampling 4. Cluster Sampling

การเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) * ใช้การจับฉลาก * ใช้ตารางเลขสุ่ม * ใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ตารางเลขสุ่ม 1) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 1) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 2) กำหนดกรอบตัวอย่างโดยให้เลขประจำตัวให้กับสมาชิกของประชากรทุกหน่วย 3) กำหนดจุดเริ่มต้นการอ่านตัวเลขในตาราง ** ตามจำนวนหลักของขนาดประชากร ** 4) กำหนดทิศทางในการอ่าน 5) เลือกตัวเลขที่อยู่ในขอบเขตประชากร ... จนครบ

การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ ลักษณะของประชากร อาจเป็นได้ 2 ลักษณะ คือ 1. หน่วยตัวอย่างในประชากรมีลักษณะสุ่ม : บัญชีรายชื่อ 2. หน่วยตัวอย่างในประชากรมีลักษณะเรียงลำดับ : เรียงรายชื่อจากคะแนนสูงสุด - ต่ำสุด

* เมื่อช่วงการสุ่มเป็นจำนวนเต็ม SI = N / n random start สุ่มจากสมาชิก SI หน่วยแรก * เมื่อช่วงการสุ่มไม่เป็นจำนวนเต็ม : เลือกแบบระบบวงกลม SI = N / n ( ปัดเศษขึ้น )

การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified sampling) แบ่งประชากรออกเป็นส่วน ๆ เรียก ชั้นภูมิ (strata) แต่ละชั้นภูมิมีความแตกต่างกัน ชั้นภูมิเดียวกันมีความเหมือนกัน สุ่มตัวอย่าง แบบง่าย หรือแบบมีระบบ จากแต่ละชั้นภูมิ กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ให้เป็นสัดส่วนกับขนาดของชั้นภูมิ (proportion allocation) โดยเทียบบัญญัติไตรยางค์

ความพึงพอใจของผู้ป่วยในการมารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก @ = แผนกอายุรกรรม X = แผนกสูติกรรม O = แผนกเด็ก @ X O @ X @ O X @ O @ X O@@ X O @ O X @ O X @ O @ X XX@ แบ่งชั้นภูมิ OOOO @@@@@@ XXXXX สุ่มตัวอย่าง OO @@@@ XXX @@OX@ XO@X ตัวอย่าง

การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) สุ่มตัวอย่าง แบบง่าย หรือแบบมีระบบ จากแต่ละกลุ่ม เลือกตัวอย่างทุกหน่วยที่อยู่ในกลุ่ม

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ในเขตสาธร จังหวัดกรุงเทพมหานคร @ X O @ X @ O X @ O @X X O @ O X @ O X @ O @ X @O@XOO X O@O@OO@ ประชากร @X@O O@XO OX@O @@XO @X@@ OXOO XX@O O@@O OX@O O@X@ แบ่งกลุ่ม OX@O @@XO OX@O O@X@ เลือกตัวอย่าง X = บ้านจัดสรร @ = บ้านตึกแถว O = คอนโดมิเนียม @XXO@O O@XOX@ @@@ ตัวอย่าง

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ในเขตสาธร จังหวัดกรุงเทพมหานคร OX@O @@XO @X@@ OXOO @X@O O@XO XX@O O@@O OX@O O@X@ X = บ้านจัดสรร @ = บ้านตึกแถว O = คอนโดมิเนียม @XXOO O@XOX@ @@@

การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multistage sampling) เป็นวิธีการสุ่มที่ทำเป็นขั้น ๆ มากกว่า 2 ขั้นขึ้นไป อาจประกอบด้วยการสุ่มตัวอย่างหลายวิธี มีการสุ่มย่อย (subsampling) จากหน่วยที่เลือกได้ในขั้นก่อน ตัวอย่างที่ได้รับเลือกจะอยู่ในขั้นสุดท้าย

ตอบข้อซักถาม กิจกรรมที่ 1.3 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง