นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่า ถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
อาหารหลัก 5 หมู่.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
งานโภชนาการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
กินเท่าไหร่ ถึงจะพอดี
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
อาหารทารก แรกเกิด - 12เดือน
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี อาหารผู้สูงอายุ นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี

การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ ด้านร่างกาย 1.การทำงานระบบประสาททั้ง 5 ลดลง 2.การหลั่งน้ำลายลดลง 3.การสูญเสียฟัน 4.การดูดซึมแลลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง 5.การยืดหยุ่นของเส้นเลือดลดลง 6.สัดส่วนของกล้ามเนื้อลดลง 7.การทำงานของไตลดลง 8.ความจำเสื่อม 9.ภูมิคุ้มกันโรคลดลง

ด้านสังคม ๑.อ้างว้าง โดดเดี่ยว ๒.ซึมเศร้า ๓.วิตกกังวล

ทำอย่างไร ? ผู้สูงอายุจะมีชีวิตที่เป็นสุข และ มีคุณภาพชีวิตที่ดี

โภชนาการในผู้สูงอายุ ช่วงที่ ๑ อาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วงที่ ๒ อาหารเพื่อชะลอสุขภาพมิให้ เสื่อมเร็ว ช่วงที่ ๓ อาหารที่เหมาะสมกับโรค

แนวทางการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ อาหารต้องมีคุณค่าทางโภชนาการ ครบ ๕ หมู่ ลักษณะอาหารนุ่ม อ่อน เปื่อย รสชาติอาหารน่ารบประทาน ( ผู้สูงอายุจะรับรสเค็มและหวานมากขึ้น ) อาหารหลากหลาย รายการอาหารตามบริบท เพิ่มมื้ออาหาร ๔ - ๕ มื้อต่อวัน เน้นเนื้อสัตว์กลุ่มเนื้อปลา , ไข่ , เต้าหู้ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง

แนวทางการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ (ต่อ ) รับประทานข้าวกล้องสลับข้าวข้าวที่ขัดสี รับประทานข้าวเหนียวในปริมาณที่เหมาะสม เพิ่มการรับประทานผักและผลไม้ พยายามปรุงอาหารด้วยเครื่องปรุงรสในปริมาณเล็กน้อย ดื่มน้ำปริมาณมากพอ ถ้ารับประทานอาหารดี ไม่จำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริมสุขภาพ ออกกำลังกายตามความเหมาะสม

1. กินอาหารครบ 5 หมู่แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัว โภชนบัญญัติ 9 ประการ 1. กินอาหารครบ 5 หมู่แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้ำหนักตัว

2. กินข้าวเป็นหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ โภชนบัญญัติ 9 ประการ 2. กินข้าวเป็นหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ

3. กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ โภชนบัญญัติ 9 ประการ 3. กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ

4. กินปลา กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ โภชนบัญญัติ 9 ประการ 4. กินปลา กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ

5. ดื่มนมให้เหมาะสม ตามวัย โภชนบัญญัติ 9 ประการ 5. ดื่มนมให้เหมาะสม ตามวัย

6. กินอาหารที่มีไขมัน แต่พอควร โภชนบัญญัติ 9 ประการ 6. กินอาหารที่มีไขมัน แต่พอควร

7. หลีกเลี่ยงอาหาร รสหวานจัด และเค็มจัด โภชนบัญญัติ 9 ประการ 7. หลีกเลี่ยงอาหาร รสหวานจัด และเค็มจัด

8. กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน โภชนบัญญัติ 9 ประการ 8. กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน

9. งดหรือลด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โภชนบัญญัติ 9 ประการ 9. งดหรือลด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

ทำไมต้องกินอาหารให้หลากหลาย ในแต่ละกลุ่มอาหาร กินอาหารให้หลากหลาย หมายความว่า กินอาหารหลาย ๆ ชนิดใน แต่ละกลุ่มหมุนเวียนกันไป ไม่กินซ้ำจำเจเพียงชนิดใดชนิดหนึ่ง เพื่อ ให้ได้สารอาหารต่าง ๆ ครบถ้วน หลีกเลี่ยงการสะสมพิษภัยจากการปนเปื้อนในอาหาร ชนิดใดชนิดหนึ่งที่กินเป็นประจำ

ข้อแนะนำพื้นฐานการจัดรายการอาหาร รายการอาหารที่เหมาะสมกับวัย อายุ อาหาร จำนวนมื้อ 40 - 50 ข้าวสวยเปลี่ยนเป็นข้าวสวยหุงแฉะ กับข้าวเปื่อยนุ่ม ผลไม้เป็นชิ้นคำเล็กๆ 3มื้อคงเดิม 50 - 60 ข้าวสวยหุงแฉะ เปลี่ยนเป็นข้าวต้มน้ำน้อย 60 - 70 ข้าวต้มน้ำน้อยเปลี่ยนเป็นข้าวต้มน้ำมาก ผลไม้ต้องสุกงอม 4มื้อเพิ่มมื้อบ่าย 70 - 80 ข้าวต้มน้ำมากเปลี่ยนเป็นโจ๊กข้นๆ กับข้าวใส่ปนกับโจ๊กผลไม้ปั่น 6-8 มื้อ(ทุก1-2ชม.) 80 - 90 โจ๊กข้นเปลี่ยนเป็นโจ๊กเหลว , ผลไม้ปั่น 10มื้อ(ทุก1.30ชม.) 90 ปีขึ้นไป โจ๊กเหลวเปลี่ยนเป็นโจ๊กปั่นผสมผัก , น้ำข้าว , น้ำผลไม้ 12มื้อ(ทุก1ชม.)

สวัสดี