คุณภาพเครื่องมือวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การออกแบบการวิจัย.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
4. Research tool and quality testing
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
การวัดผล (Measurement)
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
คำอธิบายรายวิชา.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
บทที่ 9 การออกแบบวิจัยเชิงพรรณนา : การ สังเกตการณ์
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นมาก ก่อนผู้วิจัยนำเครื่องมือไปใช้ในการเก็บข้อมูลต้อทำการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือก่อนทุกครั้งเพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลที่ได้มามีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ คุณภาพบางด้านสามารถตรวจสอบได้ทันทีเมื่อสร้างเสร็จ บางด้านต้องประเมินหลังจากนำเครื่องมือไปทดลองใช้เสียก่อน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

คุณภาพของเครื่องมือที่จำเป็นต้องตรวจสอบ ความเที่ยงตรง (Validity) ความเชื่อมั่น (Reliability) ความเป็นปรนัย (Objectivity) อำนาจจำแนก (Discrimination) ความยากง่าย (Difficulty) เครื่องมือบางชนิดจำเป็นต้องตรวจสอบเครื่องคุณภาพทุกด้าน บางชนิดต้องตรวจสอบเฉพาะด้านเท่านั้น ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของเครื่องมือ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ความเที่ยงตรง (Validity)   ความเที่ยงตรง อาจพิจารณาความหมายในลักษณะที่ใช้ประโยชน์ได้ 3 ประการ คือ (Kerlinger, 1986: 416) 1) ความเที่ยงตรงที่สามารถสร้างความสัมพันธ์เชิงปฏิบัติการกับตัวแปรเฉพาะได้ หมายความว่า ผลของการวัดของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลนั้นสามารถใช้คาดคะเนได้ว่า จะมีการแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งตามต้องการ 2) ความเที่ยงตรงที่มีลักษณะที่เป็นตัวแทนสาระสำคัญที่มีอยู่ในโลกของเรื่องนั้นคือ สาระสำคัญของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่สร้างไว้วัดได้ตรงกับสาระสำคัญ ของสิ่งที่ตั้งเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่กำหนดไว้ 3) ความเที่ยงตรงที่วัดค่าของคุณสมบัติ พฤติกรรมของบุคคลได้กล่าวคือ ผลของการรวบรวม ข้อมูลที่วัดได้จะแสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นคุณสมบัติทางจิตวิทยาของบุคคลนั้น ๆ ได้ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ความเที่ยงตรง (Validity) ความเที่ยงตรงของเครื่องมือประเมินแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (content validity) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (construct validity) ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง (criterion-related validity) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา Content Validity เป็นความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาสาระของเครื่องมือที่สร้างขึ้นกับเนื้อหาของสิ่งที่ต้องการจะศึกษา เกณฑ์ที่ใช้เทียบคือเนื้อหาที่ต้องการจะศึกษา ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา