การตรวจสอบความเชื่อมั่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

Dr.Smira Chittaladakorn
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบสังเกต (Observation form)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
สหสัมพันธ์ (correlation)
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
การเขียนรายงานการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
Correlation Tipsuda Janjamlha 06 Sep. 08. X1X2 > interval Ho: ตัวแปรทั้ง 2 ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Ha: ตัวแปรทั้ง 2 มีความสัมพันธ์ กัน.
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบความเชื่อมั่น           3. การหาความเชื่อมั่นเชิงความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency) เป็นวิธีที่ใช้การวัดครั้งเดียวและมีวิธีประมาณค่าความเชื่อมั่นได้หลายวิธี คือ                 3.1 วิธีแบ่งครึ่ง (Split-Half Method) วิธีนี้ใช้แบบวัดเพียงฉบับเดียวทำการวัดครั้งเดียว แต่แบ่งตรวจเป็นสองส่วนที่เท่าเทียมกัน เช่น แบ่งเป็นชุดข้อคู่กับข้อคี่ หรือแบ่งครึ่งแรกกับครึ่งหลังทั้งนี้ต้องวางแผนสร้างให้สองส่วนคู่ขนานกันก่อน วิธีวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างคะแนนทั้งสองครึ่งก่อนดังนี้ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การตรวจสอบความเชื่อมั่น 3.2 วิธีของ Kuder-Richardson เป็นวิธีที่ทำการวัดเพียงครั้งเดียวแล้วนำคะแนนมาวิเคราะห์โดยใช้สูตรของ Kuder-Richardson ซึ่งมี 2 สูตรคือ KR-20 และKR-21 ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การตรวจสอบความเชื่อมั่น            3.3 วิธีการหาด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (alpha coefficient) ของ Cronbach วิธีนี้เป็นการหาความเชื่อมั่นแบบ ความสอดคล้องภายในเหมือนกับวิธีของ Kuder-Richardson แต่จะใช้ได้กับเครื่องมือที่เป็นแบบความเรียงหรือมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งไม่ได้มีการให้คะแนนแบบ 0 – 1 ซึ่งการหาค่าความเชื่อมั่นด้วยสูตรสัมประสิทธิ์ แอลฟ่าของ Cronbach จะได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับการหาด้วยสูตร K-R20 ทุกประการ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การแปลความหมายของความเชื่อมั่น         ค่าความเชื่อมั่นที่ประมาณได้ตามวิธีดังกล่าวเป็นสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่น ซึ่งมีความหมายคล้ายกับค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ กล่าวคือ เมื่อเอาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ยกกำลังสอง และคูณด้วย 100 ทำเป็นร้อยละจะกลายเป็นค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรผันร่วม ซึ่งจะบอกถึงสัดส่วนหรือร้อยละของความแปรผันร่วมกันของตัวแปรสองตัว เช่น = 0.9 ฉะนั้น (0.9)2 x 100 เท่ากับ 81% จะแปลว่าตัวแปร X กับตัวแปร Y มีความแปรผันร่วมกันอยู่ 81% ทำนองเดียวกับค่าสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่นก็สามารถแปลความหมายได้เช่นกัน ถ้าพบว่าเครื่องมือรวบรวมข้อมูลมีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น ( rtt) เท่ากับ 0.9 ก็แสดงว่าเครื่องมือนั้น ใช้วัดครั้งแรกกับวัดครั้งหลัง จะมีความแปรผันร่วมกัน 81% หรือถ้านำเครื่องมือนั้นไปวัดซ้ำอีกครั้งจะได้ผลเหมือนเดิม 81% (Kerlinger , 1986 : 428) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ความเป็นปรนัย (Objectivity) คือคุณสมบัติ 3 ประการของเครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1. คำถามมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง ทุกคนอ่านแล้วมีความเข้าใจตรงกัน 2. การตรวจให้คะแนนมีความแน่นอน ไม่ว่าจะเป็นผู้ใดตรวจ จะให้คะแนนเท่ากัน 3. มีความชัดเจนในการแปลความหมาย คือคะแนนที่ได้แปลความหมายตรงกันว่าผู้สอบมีความสามารถระดับใด เป็นคุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับการวิจัยทุกประเภท หากเครื่องมือที่ใช้มีความเป็นปรนัยจะทำให้ เกิดความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นสูง ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา