ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการอบรมสุขภาพจิตในครอบครัว
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
“มาเช็คอุณหภูมิความสุขของชาวศาลายากันเถอะ”
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
ไข้เลือดออก.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง

ข้อมูลทั่วไป อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ประชากร 112,527 14 ตำบล ประชากร 112,527 14 ตำบล 196 หมู่บ้าน

โรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง สถานีอนามัย 21 แห่ง สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง สถานีอนามัย 21 แห่ง

บุคลากรของโรงพยาบาล แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ได้แก่ แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ได้แก่ 1. เวชศาสตร์ครอบครัว 1 คน 2. กุมารแพทย์ 1 คน 3. สูตินรีแพทย์ 1 คน 4. ศัลยแพทย์ 1 คน 5. สุขภาพจิตชุมชน 1 คน แพทย์ทั่วไป 1 คน ทันตแพทย์ 2 คน เภสัชกร 5 คน พยาบาลวิชาชีพ 76 คน นักเทคนิคการแพทย์ 5 คน นักกายภาพบำบัด 1 คน นักโภชนากร 1 คน นักรังสีเทคนิค 1 คน เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค 2 คน แพทย์แผนไทย 2 คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 120 คน

บริบทของปัญหา อำเภอโพนทองเป็นอำเภอขนาดใหญ่ที่มียอดผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์สะสมสูงอำเภอหนึ่งโดยมีจำนวน 515 คน ยังมีชีวิตอยู่และมารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวน 241 คน

จากการสอบถามปัญหาผู้ป่วยขณะให้บริการปรึกษา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์มีปัญหาทั้งด้านร่างกาย จิตใจพอสรุปได้ดังนี้ ผู้ติดเชื้อยังไม่กล้าเปิดเผยตัวเองกับสังคม กลัวถูกรังเกียจและทอดทิ้ง ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง มีความวิตกกังวล เครียดเกี่ยวกับโรคที่ตัวเองเป็นอยู่ กลัวเสียชีวิตก่อนลูกโต มีปัญหาเศรษฐกิจ ตกงาน

สิ่งที่ผู้ป่วยต้องการจากโรงพยาบาลคือ ต้องการให้โรงพยาบาลจัดกิจกรรมกลุ่มผู้ติดเชื้อทุกเดือนเพื่อพบปะกับเพื่อนๆได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆในกลุ่มผู้ติดเชื้อด้วยกัน การได้รับความรู้ข่าวสารใหม่ๆจากแพทย์ พยาบาลเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในทีมสุขภาพ การรับฟังปัญหา รวมทั้งการช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ

เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี มีความสุขและพึงพอใจในชีวิตเท่ากับคนทั่วไป เป้าหมาย

กิจกรรมการพัฒนา กิจกรรมกลุ่มประกอบด้วย ให้ความรู้เกี่ยวกับยาต้านไวรัสและการกินยาให้ตรงเวลาโดยเภสัชกร และพยาบาล การสอนทักษะการผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆจากหน่วยงานแพทย์แผนไทย การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดคุยปัญหาซึ่งกันและกันช่วยกันแก้ไขปัญหา การรับประทานอาหารร่วมกัน ระหว่างผู้ป่วยและทีมสุขภาพ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามปัญหาต่างๆทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม การเสนอทางเลือกของการแก้ปัญหา กิจกรรมกลุ่มใช้เวลาช่วงเช้า 8.30 -12.00 โดยนัดหมายกันทุกวันศุกร์แรกของเดือน

การวัดผลและผลการเปลี่ยนแปลง ใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม

แบบสอบถาม 1.ดัชนีวัดความสุขของคนไทย พัฒนาโดยนายแพทย์อภิชัยมงคล กรมสุขภาพจิต

2. แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ พัฒนาโดยนายแพทย์สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ผลการเปลี่ยนแปลง การจัดกิจกรรมกลุ่มครั้งแรกมีผู้ติดเชื้อเข้าร่วมกิจกรรมเล็กน้อยเพียง 12 คนในเดือนมกราคม ต่อมา มีผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเมื่อสิ้นสุดโครงการเดือนกันยายน 2552 มีผู้ติดเชื้อเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มจำนวน 40 คน

ผลการเปลี่ยนแปลง เพศ ชาย หญิง จำนวน (คน) อายุเฉลี่ย (ปี) คะแนนเฉลี่ย ด้านความสุข คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตโดยรวม ชาย 20 36.2 27.85 (มีความสุขเท่ากับคนทั่วไป) 90.45 (มีคุณภาพชีวิตกลางๆ) หญิง 38.8 23.15 (มีความสุขน้อยกว่าคนทั่วไป) 79.55

ข้อมูลเชิงคุณภาพพอสรุปได้ดังนี้ รู้สึกสบายใจมีกำลังใจ ได้พบเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน ได้เพื่อนใหม่ๆและทำกิจกรรมร่วมกัน ได้แลกเปลี่ยนความติดเห็นซึ่งกันและกัน รู้ปัญหาตนเองร่วมกันหาทางแก้ไข ได้รับคำปรึกษา สิทธิประโยชน์ต่างๆที่ตนเองจะได้รับ ได้รับความรู้ ข้อมูลใหม่ๆ โรงพยาบาลให้โอกาสดีๆ

บทเรียนที่ได้รับ การจัดกิจกรรมกลุ่มไม่สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการให้หมดไปแต่การรับฟังปัญหาความต้องการและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการเป็นสิ่งที่ทีมสุขภาพควรใส่ใจเป็นอย่างยิ่ง โอกาสพัฒนาอีกหลายด้านที่ต้องการฟังเสียงสะท้อนจากมุมมองจากผู้รับบริการเพื่อออกแบบระบบบริการให้สอดคล้องกับความต้องการอย่างแท้จริง

ผู้ติดเชื้อเอชไอวีจัดเป็นผู้ด้อยโอกาสในสังคม ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

ความสุขที่แท้จริงเกิดจากข้างในจิตใจของคนเรา และถ้าจิตใจของคุณไม่ว่าง เต็มไปด้วยอารมณ์อันตรายต่าง ๆ ความสุขก็จะเกิดขึ้นได้ยากยิ่ง เพราะความสุขนั้นมักเกิดขึ้นท่ามกลางความสงบเสมอ