ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
CS Assembly Language Programming Period 14.
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี (M DM SM ) M1 : จำนวนผู้เรียนวิชาชีพระยะสั้น เพิ่มขึ้น 20% ภายใน 31 พ. ค. 51 CP1 : ก กก การประชาสัมพันธ์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
สมบัติของความสัมพันธ์
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
1 บทที่ 7 _ต่อ การเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม. 2 การทำงานกับ MovieClips มูฟวี่คลิปเป็นออบเจกต์หนึ่งใน ActionScript ที่มี method และ property ให้เราใช้งานได้
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
วงรี ( Ellipse).
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
หลักการทำรังของนกพิราบ
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
การคูณและการหารเอกนาม
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2

ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ ความสัมพันธ์ระหว่างของที่มากกว่า 2 อย่าง อาจ เกิดขึ้นได้ โดยที่สมาชิกของความสัมพันธ์ของสิ่งของ n อย่าง เมื่อ n > 2 จะอยู่ในรูป (a1,a2,a3,…,a4) เราเรียก n ว่าดีกรีของความสัมพันธ์และเรียก สมาชิกของแต่ละตัวของความสัมพันธ์ว่า เอ็น-ทู เปิล (n-tuple)

ตัวอย่าง กำหนดความสัมพันธ์บนเซตของจำนวนเต็ม ระหว่างจำนวน 3 จำนวน ดังนี้ R = {(a,b,c)II I | a<b<c} จะได้ (1,2,4)  R (2,4,6)  R แต่ (1,5,2)  R ความสัมพันธ์ R มีดีกรีเท่ากับ 3

ความสัมพันธ์และฐานข้อมูล แนวคิดของความสัมพันธ์ n-tuple ได้ถูกนำไป ประยุกต์ใช้ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relation database system) โดยตัวแบบเชิงสัมพันธ์ (relation model) ได้ จัดเก็บข้อมูลที่สัมพันธ์กันซึ่งอยู่ใน แถว เดียวกัน ของตาราง เขียนแทนการเก็บข้อมูลใน 1 แถวได้ดังนี้ (a1,a2,a3,…,an)

ตัวอย่าง ตาราง แสดงข้อมูลวิชาเรียน รหัสประจำตัว และ เกรดที่ได้รับ Course ID GRADE ว101 12345 A 67890 B+ ค202 B

ตัวอย่าง จากตาราง แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 3 เซตคือ Course, ID และ GRADE ซึ่งมีดีกรีเป็น 3 ดังนั้น ความสัมพันธ์ที่ได้จึงเป็นสับเซตของ Course  ID  GRADE เขียนเป็นคู่อันดับคือ (ว101,12345,A)

แอตทริบิวต์ สดมภ์ (column) ของตารางในฐานข้อมูล เรียกว่า แอตทริบิวต์ (attributes) โดยแต่ละแอ ตทริบิวต์จะต้องมีชื่อเรียกเพื่ออ้างอิง เช่น ตารางที่ 5.1 ประกอบด้วยแอตทริบิวต์ Course, ID และ Grade

กุญแจหลัก แอตทริบิวต์บางแอตทริบิวต์ของความสัมพันธ์จะถูก เลือกเป็นกุญแจหลัก (primary keys) ของ ความสัมพันธ์นั้น ถ้าค่าของข้อมูลของแอตทริบิวต์ใน 2 แถวใดๆ ไม่ซ้ำกันเลย (unique) โดยทั่วไป การเลือกแอตทริบิวต์ที่จะใช้เป็นกุญแจหลัก จะต้องใช้แอตทริบิวต์ที่น้อยที่สุด แต่งบางครั้งไม่ สามารถใช้ แอตทริบิวต์เดี่ยวๆได้ อาจจะต้องใช้ 2 แอ ตทริบิวต์หรือมากกว่านั้น เราเรียกกุญแจหลักที่มีหลายแอตทริบิวต์ว่า คีย์ คอมโพสิท (composite)