แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
GDM and Cervical cancer screening
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา yapa_5@yahoo.com โทร 089-9470188 , 084-0362935, 044-212900 ต่อ 117

ลักษณะของโรคไม่ติดต่อ ระยะการดำเนินโรคยาว ระยะเวลาการก่อตัวของโรคเกิดขึ้นทีละน้อย สาเหตุการเกิดโรคมาจากหลายปัจจัย และเป็นสาเหตุที่ซับซ้อน วิถีชีวิตและพฤติกรรมมีผลต่อการเกิดโรค อุบัติการณ์เกิดโรคต่ำ แต่ความชุกโรคสูง พบในวัยผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก

ธรรมชาติการดำเนินโรคเบาหวาน มีภาวะ แทรกซ้อน /ป่วย ระยะ 3 แสดงอาการ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดใหญ่ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดฝอย ระยะ 2 น้ำตาลเพิ่ม ลดการดูดซึม Pre diabetes เบาหวานแฝง การหลั่งอินซูลินผิดปกติ ไขมันสะสม อ้วน TG HDL ระยะ 1 อัตราส่วน เอว/สะโพก ความดัน โลหิตสูง พันธุกรรม รากของปัญหา พันธุกรรม , ค่านิยม/ความเชื่อ , สังคม วัฒนธรรม , ครอบครัว/ชุมชน , สิ่งแวดล้อม

IR and -cell dysfunction are fundamental to type 2 diabetes Glucose (mg/dl) 50 – 100 – 150 – 200 – 250 – 300 – 350 – 0 – -10 -5 5 10 15 20 25 30 Years of diabetes Relative function (%) Fasting glucose Obesity IFG Diabetes Uncontrolled hyperglycaemia IR Postprandial glucose Insulin secretion Clinical diagnosis There is a temporal relationship between IR, insulin secretion and the development of diabetes. In the early stages, as IR rises, there is a compensatory increase in insulin secretion and the individual remains normoglycaemic. In the long term, as the -cells begin to fail, insulin secretion falls, hyperglycaemia becomes apparent and frank type 2 diabetes develops. Burger HG et al. 2001. Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., 2001. Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center (IDC), Minneapolis, Minnesota, 2000. Adapted from Burger HG et al. 2001. Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., 2001. Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center, Minneapolis, 2000.

ระดับของขั้นการป้องกันโรค ระดับขั้นของการป้องกันโรค 3 ขั้น มีอาการ/ ผู้ป่วย พิการ หรือตาย ระยะของโรค ระยะมีความไวรับ ก่อนมีอาการ การป้องกัน ขั้นที่ 1 (Primary) ขั้นที่ 2 (Secondary) ระดับของขั้นการป้องกันโรค ขั้นที่ 3 (Tertiary) วินิจฉัยโรคระยะ เริ่มแรก รักษาทันที การดำเนินการ รักษา ฟื้นฟู ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเฉพาะ ผลการป้องกัน ลดความชุก ลดความรุนแรง ลดผลเสียของโรค ลดอุบัติการณ์ ของโรค ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการ

การจัดการข้อมูล ในกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ข้อมูลทั่วไป *ข้อมูลจากการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง (Key in web สปสช.) *การคัดกรองเบาหวานด้วยวาจา ผลการตรวจน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต ข้อมูลทั่วไป ระดับความเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง / วิถีชีวิต / สิ่งแวดล้อม บริบทชุมชน ฝึกวิเคราะห์ข้อมูล

การจัดการข้อมูล กลุ่มผู้ป่วย ข้อมูลจากทะเบียนผู้ป่วยที่มารับการรักษา จำนวนป่วย / ตาย อัตราป่วย อัตราตาย อัตราผู้ป่วยใน อัตราภาวะแทรกซ้อน ข้อมูลสำรวจพฤติกรรมการปฏิบัติตน การเยี่ยมบ้าน

การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข การจัดการข้อมูล .. Outcome -DM/HT/CVD - ตาย จังหวัด - CUP - อปท ฯลฯ Node นโยบาย เขต / ส่วนกลาง P D A C ผล แผนแม่บท KM Best practice Risk Beh. คัดกรอง Data การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข สื่อสาร/ เตือนภัย จัดการ ระบบข้อมูล รวบรวม-วิเคราะห์ข้อมูล - เฝ้าระวังสถานการณ์โรค /ปัจจัยเสี่ยง information

จำแนกตัวแปรให้ถูกต้องมีประโยชน์ต่อการนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้สถิติที่ถูกต้อง