กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
ยอดเงินงบประมาณที่สามารถโอน จำนวน 6,118,000 บาท ลำ ดับ ประเภท - รายการ จำน วน ราคาต่อหน่วย ( บาท ) ราคารวม ( บาท ) 1Log Management11,300,000 2 อุปกรณ์
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน.
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 ธันวาคม 2556.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และอัตราการจ่าย ประโยชน์ทดแทน ในกรณีชราภาพ เป็นการเฉพาะในช่วงที่มีการลด.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4569 ( พ. ศ. 2556) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตรายและรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง สัญลักษณ์เตือนอันตราย เครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กรกฎาคม 2554.
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง แบบคำขอรับใบอนุญาต คำขอต่ออายุใบอนุญาต คำขอรับใบแทนใบอนุญาต และแบบใบอนุญาตสั่งเข้ามา นำเข้ามา ผลิต หรือมีซึ่งยุทธภัณฑ์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สรุปสาระสำคัญ 1. ผู้ที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งมีกำลังผลิตรวมตั้งแต่ 200กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป อยู่ในครอบครอง เพื่อทำการผลิตไฟฟ้า จะต้อง ขออนุญาต ทำการผลิตพลังงานควบคุม.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4419 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4418 (พ. ศ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนการขาดรายได้ กรณีทุพพลภาพอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 13.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4441(พ. ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4411 (พ. ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4409 (พ. ศ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบคำร้องและแบบคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทำที่บ้าน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนกรณี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
Office of The Civil Service Commission sc.go.th กองทุนสวัสดิการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบตามระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งผู้แทนฝ่ายลูกจ้างในคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
ธนาคารของรัฐบาล ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
การลาประเภทต่างๆ ของข้าราชการ และสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
กฎกระทรวงกำหนดงานที่ลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุด พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 8 ( พ. ศ. 2555) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
อ.สุเนตร มูลทา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง แบบบัตรประจำตัวพนักงาน ตรวจสอบความปลอดภัย ตาม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชี วอนามัย.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การตรวจสุขภาพและจัดทำบัตรตรวจสุขภาพของลูกจ้างที่ทำงานประดาน้ำ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
แนวทางการดูแลผู้ป่วย นิติจิตเวชในชุมชน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ จำนวนเงินทดแทนค่าบริการ.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4409 (พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนกรณีคลอด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางอาชีวเวชศาสตร์ฯ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

รัฐธรรมนูญ พระ ราช บัญญัติ พระ ราช กำหนด พระ ราช กฤษฎีกา กฎ กระทรวง ระเบียบ ข้อ บังคับ ประกาศ คำ สั่ง

กฏหมายแรงงานที่สำคัญ มี 6 ฉบับ ดังนี้ คือ

ปัญหาการวินิจฉัยผู้ป่วยที่เกิดจากการทำงาน การวินิจฉัยมากเกินไป หรือ น้อยเกินไป การให้การวินิจฉัยว่าเป็น Occupational Disease หรือ Work Related Disease มีหลักเกณฑ์ทางวิชาการ และ ทางกฏหมายอย่างไร? การวินิจฉัยโรคที่เกิดจากการทำงาน การวินิจฉัยมากเกินไป เช่น คนงานอาจจะมีอาการอื่นๆ ซึ่งเป็นโรคที่ไม่เกี่ยวกับสารเคมี แต่ให้การวินิจฉัยว่าเป็นจากสารเคมี ซึ่งทำให้ไม่ได้รักษาโรคที่เป็นแท้จริงและทำให้เกิดความเข้าใจผิด หรือการวินิจฉัยน้อยเกินไป คือคนงานเป็นโรคที่เกิดจากการทำงานแต่แพทย์ไม่ได้ให้การวินิจฉัย ทั้งสองอย่างนี้เป็นสิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง ในการวินิจฉัยภาวะดังกล่าวอาจมีผลกระทบกระเทือนถึงคนงาน นายจ้าง หรือแม้แต่รัฐบาลซึ่งดูแลเรื่องกองทุนทดแทน ทั้งนี้ในการวินิจฉัยให้ถูกต้องจะต้องขึ้นอยู่กับการชำนาญของแพทย์ และบนรากฐานวิชาการที่แท้จริง ประเด็นที่สองที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยคือ การให้การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยป่วยจากสารเคมีนั้นเป็นการวินิจฉัยแบบ cause และ effect หรือ etiologic diagnosis ซึ่งการจะบอกว่าอะไรเป็นสาเหตุของอะไรนั้น ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่มากในวงนักวิชาการในแขนงต่างๆ ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษอาจจะไม่แสดงอาการ หรือมีอาการรุนแรงมาก ขึ้นอยู่กับกลไกการเกิดโรคและความต้านทานของร่างกาย ผู้ป่วยอาจจะเป็นโรคอื่นๆ ที่มีอาการคล้ายๆ กับภาวะสารเป็นพิษ ทำให้เข้าใจผิดก็ได้

ในการวินิจฉัยแบบ cause และ effect หรือ etiologic diagnosis ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่มากในวงนักวิชาการ เช่น ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษอาจจะไม่แสดงอาการ หรือมีอาการรุนแรงมาก ขึ้นอยู่กับกลไกการเกิดโรคและความต้านทานของร่างกาย หรือ ผู้ป่วยอาจจะเป็นโรคอื่นๆ ที่มีอาการคล้ายๆ กับภาวะสารเป็นพิษ

ตัวอย่าง การให้การวินิจฉัยภาวะเป็นพิษจากสารเคมี 1. สารเคมีนั้นทำให้เกิดอาการของผู้ป่วยได้หรือไม่ (toxic syndrome) 2. ประวัติสัมผัสสารเคมี (exposure)  3. ระดับสารเคมีในเลือด (toxic level) การวัดระดับสารเคมี ในเลือดหรือในเนื้อเยื่อ 4. โรคอื่นที่อาจจะเป็นสาเหตุของอาการนั้นๆ (underlying diseases) 5. การหยุดการสัมผัสสารเคมีและการรักษา (detoxification and treatment) น่าที่จะทำให้อาการต่างๆ ดีขึ้น  ในการให้การวินิจฉัยภาวะเป็นพิษจากสารเคมีดังนี้  1. สารเคมีนั้นทำให้เกิดอาการของผู้ป่วยได้หรือไม่ (toxic syndrome)   ขั้นตอนนี้เป็นการวิเคราะห์อาการแสดงของโรคจากการซักประวัติ และตรวจร่างกาย และระยะเวลาที่เกิดอาการนั้นๆ เทียบกับภาวะเป็นพิษจากสารเคมีนั้นๆ จากหนังสือ ตำรา หรือ รายงานในวารสารการแพทย์  โดยที่ดูว่าอาการดังกล่าวเข้ากันได้กับภาวะเป็นพิษหรือไม่ และพบได้บ่อยมากน้อยเพียงใด  2. ประวัติสัมผัสสารเคมี (exposure)  ผู้ป่วยได้สัมผัสกับสาร เคมีนั้นๆ มากน้อยเพียงใดโดยดูกับระดับของสารเคมีในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ชนิดของงาน ระยะเวลาในการทำงานในแต่ละราย เวลาที่ผู้ป่วย ทำงานทั้งหมด และสภาพการใช้เครื่องป้องกันสารเคมีหรือสุขลักษณะที่เกี่ยวข้อง  3. ระดับสารเคมีในเลือด (toxic level) การวัดระดับสารเคมี ในเลือดหรือในเนื้อเยื่อต่างๆ เป็นการยืนยันการวินิจฉัยภาวะเป็นโรค จากสารเคมีนั้นๆ โดยเฉพาะกรณีที่ระดับของสารเคมีอยู่ในเกณฑ์ที่ สูงมาก  4. โรคอื่นที่อาจจะเป็นสาเหตุของอาการนั้นๆ (underlying diseases) ในคนงานทั่วไปอาจจะมีโรคอยู่ด้วย โรคนั้นๆ อาจจะเป็น สาเหตุของการที่ผู้ป่วยเป็นโดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ดังนั้นจะ ต้องพยายามแยกว่าอาการนั้นๆ เป็นจากสารเคมีหรือโรคของผู้ป่วย เอง  5. การหยุดการสัมผัสสารเคมีและการรักษา (detoxification and treatment) การที่ผู้ป่วยหยุดสัมผัสสารเคมี และได้รับการ รักษาที่ถูกต้องน่าที่จะทำให้อาการต่างๆ ดีขึ้น 

การวินิจฉัยภาวะเป็นโรคจากการทำงาน definite คือ อาการเป็นโรคจากการทำงานเข้าได้กับ criteria ที่กล่าวมาแล้วชัดเจน probable คือ อาการนั้นๆ ค่อนข้าง typical ที่เกิดจากสารเคมีและผู้ป่วยไม่มี underlying disease ที่อธิบายอาการนั้นๆ possible คือ อาการค่อนข้าง typical ที่เกิดจากสารเคมี แต่ผู้ป่วยมี underlying disease ที่อาจอธิบายอาการของผู้ป่วยได้ doubtful คือ อาการที่เกิดขึ้นไม่น่าที่จะเกิดจากสารเคมีนั้นๆ และน่าจะเป็นจากอาการของโรคของผู้ป่วยเอง ในการวินิจฉัยภาวะเป็นโรคจากการทำงาน บ่อยครั้งแพทย์ไม่สามารถจะให้การวินิจฉัยให้แน่นอนได้ การวินิจฉัยจึงต้องแบ่งตามโอกาสของความน่าจะเป็น เช่น definite คือ อาการเป็นโรคจากการทำงานเข้าได้กับ criteria ที่กล่าวมาแล้วชัดเจน probable คือ อาการนั้นๆ ค่อนข้าง typical ที่เกิดจากสารเคมีและผู้ป่วยไม่มี underlying disease ที่อธิบายอาการนั้นๆ possible คือ อาการค่อนข้าง typical ที่เกิดจากสารเคมี แต่ผู้ป่วยมี underlying disease ที่อาจอธิบายอาการของผู้ป่วยได้ doubtful คือ อาการที่เกิดขึ้นไม่น่าที่จะเกิดจากสารเคมีนั้นๆ และน่าจะเป็นจากอาการของโรคของผู้ป่วยเอง

เมื่อมีการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน ต้องจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้าง ประกอบด้วย 1. ค่ารักษาพยาบาล  2. ค่าทดแทนระหว่างหยุดงานรักษาตัว  3. ค่าทดแทนสมรรถภาพ  4. ค่าทำศพ  5. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน

การออกใบรับรองแพทย์ที่เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน  เพื่อให้มีการจ่ายเงินทดแทนให้กับลูกจ้างนั้น จะต้องประกอบด้วย  1. การเจ็บป่วยนั้นมีอาการอย่างไรและเป็นโรคอะไร  2. การเจ็บป่วยนั้นเกิดเนื่องกับการทำงานหรือไม่  3. ผู้ป่วยจะต้องใช้เวลารักษาตัวนานเท่าไร  4. มีการสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานเท่าไร 

มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานตรวจแรงงาน กับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้             การแต่งตั้งพนักงานตรวจแรงงาน จะกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่และเงื่อนไขในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยก็ได้             กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๙๕ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดให้นายจ้างต้องจัดสวัสดิการในเรื่องใด หรือกำหนดให้การจัดสวัสดิการในเรื่องใดต้องเป็นไปตามมาตรฐานได้

การออกใบรับรองแพทย์อันเป็นเท็จอาจมีความผิดตามกฎหมายต่างๆ ดังนี้ 1. พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2529 มีความผิดตั้งแต่ว่ากล่าว ตักเตือนจนถึงเพิกถอนใบอนุญาต 2. พรบ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท 3. กฎหมายอาญา ต้องระวางโทษไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 4,000 บาท เป็นต้น