สถิติในการวัดและประเมินผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาบริหารธุรกิจทั่วไป อาคาร 18 ชั้น 5
การประมาณค่าทางสถิติ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติในการวัดและประเมินผล โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ กองบัญชาการฝึกศึกษาทหารอากาศ

ลืมถ่ายทอดความรู้ เป็นครูหรือ ลืมการสอนแผนใหม่ ไร้ฝีมือ ลืมหายใจ ไหนจะมีชีวิตรอด ลืมถ่ายทอดความรู้ เป็นครูหรือ ลืมการสอนแผนใหม่ ไร้ฝีมือ ลืมใช้สื่อซื้อมา น่าเจ็บใจ

สถิติ (Statistics) หัวข้อการบรรยาย (6 ช.ม.) ความหมาย ประเภทของสถิติ คำจำกัดความ แหล่งข้อมูล ประเภทของข้อมูล มาตราการวัด การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายของข้อมูล และมาตรวัดตำแหน่ง ) คะแนน Z คะแนน T และการให้ระดับตัวอักษร

ความหมายของสถิติ 1. ตัวเลข 2. ศาสตร์ (เก็บรวบรวมข้อมูล ,จัดระเบียบ, นำเสนอข้อมูล, วิเคราะห์ข้อมูล , แปลผลข้อมูล ) Statistics : The science of collection, organizing, presenting, analyzing and interpreting data to assist in making more effective decisions)

ประเภทของสถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics)

นิยามศัพท์และสัญลักษณ์ ประชากร (Population) , N ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) , ตัวอย่าง (Sample), n ค่าสถิติ (Statistic) , S.D.

แหล่งข้อมูล 1. ปฐมภูมิ (Primary Data) 2. ทุติยภูมิ (Secondary Data)

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ ประเภทของข้อมูล และ ระดับของการวัด (Type of Data & Levels of Measurement) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) Nominal Ordinal Interval Ratio

Levels of Measurement Nominal เช่น เพศ เหล่า สังกัด อาชีพ Ordinal เช่น ระดับความคิดเห็น ระดับเกรด ชั้นยศ Interval เช่น คะแนน อุณหภูมิ Ratio เช่น ระยะทาง รายได้ อายุ ส่วนสูง

การวิเคราะห์ข้อมูล Data Analysis

สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลางของข้อมูล 2. การวัดการกระจายของข้อมูล 3. มาตรวัดตำแหน่ง

Measures of Central Tendency ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้ำหนัก ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าฐานนิยม (Mode)

Measures of Central Tendency การ เลือกใช้ ความสัมพันธ์ระหว่าง Mean , Median , Mode

Measures of Variability or Dispersion ค่าพิสัย (Range) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าความแปรปรวน (Variance) สัมประสิทธิ์ความแปรผัน (Coefficient of Variation)

มาตรวัดตำแหน่ง Quartile (ควอไทล์) Decile (เดไซล์) Percentile (เปอร์เซ็นต์ไทล์)

การหาเปอร์เซ็นต์ไทล์

การแจกแจงแบบปกติ Normal Distribution การแจกแจงปกติ การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน การหาพื้นที่ หรือ ความน่าจะเป็นภาย ใต้โค้ง Z

ลักษณะของเส้นโค้งปกติ  = 3.14159 e = 2.71828

P(a<x<b) =

การแจกแจงปกติมาตรฐาน

การหาพื้นที่ภายใต้โค้ง Z จงหาพื้นที่ทางซ้ายของ Z = 1.12 หรือ เขียนเป็นสัญลักษณ์ คือ P(Z < 1.12)

คะแนนแปลงรูป และการกำหนดระดับตัวอักษร เปรียบเทียบคะแนนกับมาตรฐานหรือพิจารณาตามความยากง่ายของข้อสอบ เปรียบเทียบนักเรียนแต่ละคนในกลุ่ม 2.1 Z – score 2.2 Linear T-score 2.3 Normalized T-score

เปรียบเทียบคะแนนกับมาตรฐานหรือพิจารณาตาม ความยากง่ายของข้อสอบ เป็นการเปรียบเทียบคะแนนของผู้เข้าสอบคนหนึ่ง กับข้อสอบ 100 ข้อ นิยมใช้ในการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในชั้นเรียน

การให้ระดับตัวอักษร ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ผู้สอน หรือเป็นไปตามข้อตกลงของสถาบัน เช่น 80 – 100 เกรด A 70 – 79 เกรด B 60 – 69 เกรด C 50 – 59 เกรด D

เปรียบเทียบนักเรียนแต่ละคนในกลุ่ม Z-score

ตัวอย่าง นทน.ครูทหารรุ่น 40 สอบได้เกรดเฉลี่ย 3.00 ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.00 นทน.อนุรักษ์ฯ เป็นนักเรียนคนหนึ่ง ในชั้น สอบได้เกรดเฉลี่ย 3.10 ถามว่า นทน.อนุรักษ์ เรียน เป็นอย่างไร

ภาษาอังกฤษได้ 70 คะแนน จะสรุปว่าเรียนวิชาใด ดีกว่ากัน นทน.อนุรักษ์ สอบวิชาสถิติได้ 60 คะแนน สอบวิชา ภาษาอังกฤษได้ 70 คะแนน จะสรุปว่าเรียนวิชาใด ดีกว่ากัน วิชา   N วิชาสถิติ วิชาภาษาอังกฤษ 50 80 4 5 45

T – score แบบโค้งปกติ หรือใกล้เคียง สูตร 1. Linear T – score ใช้สำหรับข้อมูลที่มีการแจกแจง แบบโค้งปกติ หรือใกล้เคียง สูตร T = 10Z + 50 มีค่าเฉลี่ย = 50 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 10 ตัวอย่าง นทน.ครูทหารรุ่น 40 สอบได้เกรดเฉลี่ย 3.00 ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.00 นทน.อนุรักษ์ฯ เป็นนักเรียนคนหนึ่ง ในชั้น สอบได้เกรดเฉลี่ย 3.10 จงหา Linear T-score

จากตัวอย่างเดิมหาค่า Z = 0.10

การกำหนดระดับตัวอักษร ระดับ F คือ ต่ำกว่า T30 ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 2.27 ระดับ D คือ T30 – T39 ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 13.59 ระดับ C คือ T40 – T59 ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 68.26 ระดับ B คือ T60 – T69 ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 13.59 ระดับ A คือ ตั้งแต่ T70 ขึ้นไป ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 2.27

2. Normalized T – score ใช้สำหรับข้อมูลที่ไม่เป็นโค้งปกติ

การกำหนดระดับคะแนนจากคะแนนที ปกติ (Normalized T-score) ขั้นตอนที่ 2 ใช้ดุลยพินิจ ว่าจะให้ระดับตัวอักษรกี่ระดับ ขั้นตอนที่ 3 หาช่วง โดยนำขั้นตอนที่ 1 ตั้ง หารด้วยขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 ให้ระดับเกรด ตามช่วงคะแนน T

ตัวอย่างที่ การทดสอบครั้งหนึ่ง เมื่อทำการแปลงคะแนนดิบ (X) เป็นคะแนน T ปกติ (Normalized T-sore) แล้ว ปรากฏว่าได้คะแนน T ต่ำสุด 20 และสูงสุด 80 ถ้าต้องการให้ระดับตัวอักษร 3 ระดับ คือ A B และ C ถ้าต้องการให้ระดับตัวอักษร 4 ระดับ คือ A B C และ D

ดังนั้นการแบ่งระดับตัวอักษรตามกลุ่มคะแนน เป็นดังนี้ ระดับ C คือ T20 – T39 ระดับ B คือ T40 – T59 ระดับ A คือ T60 – T80

ดังนั้นการแบ่งระดับตัวอักษรตามกลุ่มคะแนน เป็นดังนี้ ระดับ D คือ T20 – T34 ระดับ C คือ T35 – T49 ระดับ B คือ T50 – T64 ระดับ A คือ T65 – T80

Question????...