การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/04/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ผลการคัดกรอง ค้นหาวัณโรค อำเภอ (ณ ตค. -31 มีค. 2552)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
Management of Pulmonary Tuberculosis
1 รายงานวัณโรครอบ 3 เดือน โรงพยาบาล ผู้นำเสนอ ชื่อ ตำแหน่ง
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูล
ความสอดคล้องของผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรคจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง (รายงานเบื้องต้น) อดุล เขียวเล็ก* แวฟาอูวยียะ ยามิน* เพชรวรรณ พึ่งรัศมี* ทวีพร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
other chronic diseases
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ภายใต้ระบบ DOTS ใน เขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สิงหาคม 2552
Cancer.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ที่ดื้อต่อยาต้านไวรัส
พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดชลบุรี
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
TBCM Online.
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน Multi-drug Resistant TB ดร. พญ.เพชรวรรณ พึ่งรัศมี petchawanp@yahoo.com ศูนย์วัณโรคที่ 12 จังหวัดยะลา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา

Key Message รักษายุ่งยาก แพง ได้ผลน้อย ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น = ดีที่สุด

ผู้มีโอกาสดื้อยา- ก่อนรักษา

ผู้มีโอกาสดื้อยา- ระหว่างรักษา

ผู้มีโอกาสดื้อยา- หลังรักษาครบ/หาย

การส่งตรวจ

มาตรฐานนานาชาติข้อ 15 At least four drugs to which the organisms are known or presumed to be susceptible should be used, and treatment should be given for at least 18 months.

มาตรฐานนานาชาติข้อ 15 ผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ควรได้รับการรักษาด้วยสูตรยาเฉพาะที่มียา second-line ควรใช้ยาที่รู้หรือคาดว่าเชื้อไวต่อยา อย่างน้อย 4 ขนาน และควรให้อย่างน้อย 18 เดือน จำเป็นต้องใช้วิธีการที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient centered measures) เพื่อให้แน่ใจเรื่องการยอมรับการรักษา ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการรักษาผู้ป่วย MDR-TB

ระบบยา ไม่รอผล DST (empiric) รอผล DST (individualized)

แนวทางพิจารณาว่าจะรอ DST ? การตอบสนองทางคลินิก (อาการ ไอ ไข้ การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัว) ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเสมหะ ระหว่างการรักษา (Fall and rise ) ประวัติการได้รับ DOT ในการรักษา ภาพรังสีปอด ณ วันที่วินิจฉัยว่ามีการล้มเหลวจากการรักษาด้วยระบบยา CAT 1 การมีประวัติปัจจัยเสี่ยงต่อการดื้อยาหลายขนานก่อนการรักษา

วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็น MDR

วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็น MDR

วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็น MDR

วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็น MDR

วิธีปฏิบัติเมื่อพบผู้ป่วยที่มีโอกาสเป็น MDR

ตัวอย่าง Empiric CAT4 3K5ZEPO/15ZEPO 3K5ZEPO/3K3ZEPO/12ZEPO 3K5ZEtPO/15ZEtPO 3K5ZEtPO/3K3ZEtPO/12ZEtPO 2K5POEtC/4K3POEtC/12POEtC

Empiric Regimens CAT 4 (1) 6 K5 OPEZ / 12-18OPEZ CAT 4 (2) 6 K5O(P)EtCs(Z) /12-18O(P)EtCs (Z)

การขึ้นทะเบียน

การขึ้นทะเบียน

การขึ้นทะเบียน

ระยะเวลารักษา อย่างน้อย 18 เดือน อย่างน้อย 12 เดือน หลังจาก culture ไม่พบเชื้อ

การติดตามผล AFB, culture M2,3,4,5,6 M6 = Neg AFB, culture M9,12,15,18

การติดตามผล AFB, culture M2,3,4,5,6 M6 = Pos AFB, culture ทุกเดือน จนกว่าจะเป็นลบ

การติดตามผล Chest X-ray M3, 6 ทุก 6 เดือน สิ้นสุดการรักษา

ผลการรักษา

ผลการรักษา

การติดตามหลังการรักษาครบ