บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ Data Transmission and Interfaces
Fundamental of Data and Signals ความสำคัญเกี่ยวกับ Physical Layer การเคลื่อนย้ายข้อมูลหรือสารสนเทศ Digital (binary) สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า การเข้ารหัสของข้อมูลให้เหมาะสมกับตัวกลาง พิจารณาเรื่องของต้นทุน ประสิทธิภาพ และความน่าเชื่อถือ ข้อมูล VS สัญญาณ ข้อมูล จะมีความหมายในตัว สัญญาณ จะต้องผ่านการเข้ารหัส ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่งสู่สายสื่อสาร
Digital Signal and Analog Signal สัญญาณแอนะล็อก และสัญญาณดิจิตอล
Analog Signal เสียงจะมีความดังและความถี่ของเสียงที่ต่อเนื่องกันไป --> เสียงพูด ดนตรี วิดีโอ ฯลฯ สัญญาณอนาล็อกเป็นรูปคลื่นที่มีลักษณะต่อเนื่อง (Continuous Waveforms) ผ่านตัวกลางได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับความถี่ อุปกรณ์เพิ่มกำลังให้กับสัญญาณ (Amplifier)
Digital Signal เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete / Discontinuous) เป็นรูปคลื่นสี่เหลี่ยมแทนด้วยเลขฐานสอง Positive (+,0) / Negative (-,1) ข้อดี คือ ต้นทุนถูกกว่า, สัญญาณรบกวนน้อยกว่า ข้อเสีย คือ สัญญาณถูกลดทอนง่ายกว่า รีพีตเตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ เพื่อยืดระยะทางในการส่งสัญญาณดิจิตอล
การแปลงข้อมูลแอนาล็อก/ดิจิตอลให้เป็นสัญญาณ Analog Data to Analog Signal Digital Data to Digital Signal Digital Data to to Analog Signal Analog Data to Digital Signal
Analog Data to Analog Signal รูปแบบง่าย ต้นทุนต่ำ เช่น ระบบวิทยุกระจายเสียง Carrier Signal Modulation Demodulation
การมอดูเลตทางขนาด (Amplitude Modulation : AM)
การมอดูเลตทางความถี่ (Frequency Modulation : AM)
Digital Data to Digital Signal
Digital Data to to Analog Signal
Analog Data to Digital Signal ใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า โคเดค (Codec : Coder/Decoder) ใช้เทคนิค Voice Digitization
หน่วยวัดความเร็วในการส่งข้อมูล
Digital Data Transmission
Parallel Transmission
Serial Transmission
การแปลงสัญญาณข้อมูลระหว่างแบบอนุกรมและแบบขนาน UART (Universal Asynchronous Receiver Transmitter) USART (Universal Synchronous / Asynchronous Receiver Transmitter)
Asynchronous Transmission
Synchronous Transmission
ทิศทางการส่งผ่านข้อมูล Simplex
ทิศทางการส่งผ่านข้อมูล Half-Duplex
ทิศทางการส่งผ่านข้อมูล Full-Duplex