องค์กรแห่งการเรียนรู้
ความหมาย องค์กรที่มีพนักงานทุกคนทุกระดับ พัฒนาขีด ความสามารถในการสร้างผลงานที่ดีให้กับ องค์กรด้วยใจรัก ( วรภัทร์ ภู่เจริญ, หน้า 21) ทำแบบ เพลิน Play and Learn ฉันทะ วิริยะ จิตตะวิมังสา
เรียนรู้ Learning ความรู้ Knowledge การหา ไขว่คว้าให้ได้มา (acquiring) อะไรคือความจริง อะไร คือความเชื่อ – เมื่อมี ความรู้ก็จะหมดความสงสัย มีความเข้าใจ ในเชิงพุทธศาสตร์ ความรู้แบ่งเป็น 1. แบบปริยัติรู้แบบนักวิชาการ รู้ในสมอง รู้เป็นแบบ อ้างอิง ไม่ได้ลงมือทำ 2. แบบปฏิบัติ รู้แบบลงมือทำ ทำได้ แต่อธิบายมา เป็นปริยัติไม่ได้ เขียนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ได้ ต้องทำเอง
3. แบบปฏิเวธ เข้าใจถ่องแท้ เป็น guru เป็นแฟนพันธ์ แท้ เป็นผู้เชี่ยวชาญ สามารถพลิกแพลงได้ ต่อ ยอดได้ ระดับการเรียนรู้ 3 ระดับ 1.Non-adaptive learning ครูและผู้บริหาร การศึกษากำหนดกำหนดสิ่งที่ต้องทำ สิ่งที่ทดลอง เช่น อายุเท่านี้ต้องรู้เรื่องนี้ ทำสิ่งนี้ได้ ตำแหน่งนี้ ต้องทำเรื่องนี้ได้ เน้นการจำ การทำตามที่สอน ไม่ ออกนอกร่องรอย ขีดเส้น ตั้งธงให้ตอบ 2.Adaptive learning พบปัญหาจึงแก้ไขเป็นคราว ๆ ไป เป็น PDCA รอบเดียว แบบ Single loop แก้ กรณีศึกษาเป็นราย ๆ ไป
ตัวอย่าง ในสายการบินต่างประเทศทุกเที่ยว มี การจดบันทึกปัญหาและวิธีแก้ไขที่ได้ใช้แลว เก็นในระบบคอมพิวเตอร์ อาจปรับ procedure or work instruction ด้วยถ้าจำเป็น ตั้ง key words หรือ รหัสปัญหาเพื่อง่ายต่อการค้นหาใน ภายหลัง มีการประเมินวิธีแก้ไว้ด้วย อาจใช้ชื่อ พนักงานที่แก้ปัญหาได้เป็นชื่อ เช่น Pim case และอาจมีหมายเหตุชื่นชมพนักงานคนนั้นไว้ด้วย 3
3. Generative learning เป็นแบบ Non- adaptive learning ที่ทำหลายรอบ หลายวงจร ทำแบบ PDCA หลาย ๆ รอบ คือทำไป เรียนรู้ ไป – หาให้เจอ เปิดให้ทัน และคิดให้เป็น ปรับแต่งสันดานการคิดและการเรียนรู้
ทำไม LO เครื่องมือการบริหาร TQM, TPM, ISO ฝึกให้ พนักงานคิดเป็น พัฒนาทุนมนุษย์ คิดเป็น ขยัน ไม่โกง ไม่เครียด ให้คิดนอกกรอบให้เหมาะกับกาลเวลาที่ เปลี่ยนไป ให้รู้จักการบริหารเปลี่ยนแปลงต้องอาศัย จินตนาการ ฝึกสติ วิธีคิด คิดให้เป็น
Peter Zenge การทำ LO เกี่ยวข้อง 5 ด้าน Systemic thinking Mental model Personal mastery Team learning Shared learning