โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Distributed Administration
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.
Information System and Technology
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูล (Data management).
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
หน่วยความจำ (Memory Unit)
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Memory Internal Memory and External Memory
Operating System ฉ NASA 4.
ลำดับการทำงานหน่วยความจำ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กระบวนการสอบถามข้อมูล
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques
เทคนิคการค้นหาข้อมูล
บทที่ 5 เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Searching Techniques)
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การทำงานของคอมพิวเตอร์
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ระบบฐานข้อมูล.
Data Structure and Algorithms
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ

โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ การจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูลเชิงกายภาพ ตัวดัชนีและเทคนิคที่ถูกนำมาใช้ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ การจัดองค์กรของแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ เป็นระบบแฟ้มที่ใช้กันมากที่สุด การจัดเก็บระเบียนเรียงตามลำดับของสื่อเก็บข้อมูล การเข้าถึงจะต้องเข้าถึงตามลำดับการเก็บ เหมาะสำหรับงานออกแบบรายงานหรืองานที่มีการเรียงมากๆ

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ การจัดองค์กรของแฟ้มข้อมูลแบบเข้าถึงโดยตรง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเข้าถึงแบบสุ่ม สามารถเข้าถึงระเบียนใดระเบียนหนึ่ง โดยไม่ต้องอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น เหมาะสำหรับ งาน Interactive Processing งานที่ต้องปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลายชุดพร้อมๆกัน มีอัตราการเปลี่ยนแปลงต่ำ ต้องการคำตอบรวดเร็ว

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง สื่อข้อมูล คือ วัตถุทางกายภาพที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในรูปรหัสแทนข้อมูล Volatile เมื่อไม่มีไฟฟ้าผ่านข้อมูลที่บันทึกจะหายไป เช่น RAM Nonvolatile เมื่อไม่มีไฟฟ้าผ่าน ข้อมูลที่บันทึกจะคงอยู่ เช่น ROM บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก เหมาะสำหรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่และการประมวลผลแบบ Batch Parity Check Bit เป็นบิตที่เพิ่มขึ้นจากรหัสข้อมูลเดิม ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลระหว่างการอ่านข้อมูลบนเทป

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จานแม่เหล็กเป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง วงที่อยู่บนผิวจานแม่เหล็กเรียกว่า แทรค (Track) หน่วยเก็บข้อมูลที่เล็กที่สุดบนจานที่สามารถกำหนดตำแหน่งที่อยู่ได้ เรียกว่า เซกเตอร์ (Sector) กลุ่มของแทรคหมายเลขเดียวกัน เรียกว่า ไซลินเดอร์ (Cylinder) เวลาที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็ก ขึ้นอยู่กับ เวลาเสาะหา (seek time) การเลือกหัวอ่าน/บันทึก (R/W head selection) ความล่าช้าของการหมุน (rotation delay) อัตราการถ่ายทอดข้อมูล (transfer rate)

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ ความแตกต่างระหว่างการจัดเก็บข้อมูลสำรองและข้อมูลหลัก ประเภทอุปกรณ์บันทึกข้อมูล อุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายใน คือ หน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายนอก จะต้องผ่านกระบวนการเข้าถึงข้อมูลและการถ่ายทอดข้อมูล เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก

การจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูลเชิงกายภาพ การจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูลเชิงกายภาพ แนวคิด ข้อมูลที่ใช้ในงานประยุกต์มีมากเกินขนาดของหน่วยความจำที่จะเก็บได้ ข้อมูลที่เรียกใช้ในโปรแกรม มักเป็นส่วนหนึ่งของแฟ้มข้อมูลเท่านั้น ทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรม สามารถถูกเรียกใช้ข้อมูลจากหลายโปรแกรมได้

การจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูลเชิงกายภาพ การจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูล และการเข้าถึงข้อมูลเชิงกายภาพ ประเภทการจัดระเบียนของแฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ ระเบียนเชิงกายภาพ คือ ระเบียนที่ถูกพิจารณาถึงลักษณะการเก็บในสื่อบันทึกข้อมูล ระเบียนเชิงกายภาพที่ประกอบด้วยหลายๆระเบียน เรียกว่า บล็อก (block)

ตัวดัชนีและเทคนิคที่ถูกนำมาใช้ ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น ชนิดและโครงสร้างของตัวดัชนี ดัชนี ช่วยให้การค้นหาระเบียนในแฟ้มข้อมูลทำได้เร็วขึ้น การจัดโครงสร้างของแฟ้มลำดับเชิงดัชนี มี 2 วิธี คือ Block Indexes and Data (dynamic) Prime and Overflow Data Area

ตัวดัชนีและเทคนิคที่ถูกนำมาใช้ ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น Block Indexes and Data (dynamic) ดัชนีและแฟ้มข้อมูลจัดเก็บในลักษณะของบล็อก ดัชนีมีโครงสร้างแบบต้นไม้ แฟ้มข้อมูลมีโครงสร้างแบบลำดับ Prime and Overflow Data Area แบ่งเนื้อที่ออกเป็น ส่วนดัชนี ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านคีย์หลักอย่างสุ่ม ส่วนเก็บข้อมูล มีโครงสร้างแบบแฟ้มลำดับและประกอบด้วยระเบียน เนื้อที่ส่วนเผื่อขยาย สำหรับเก็บระเบียนที่แทรกใหม่

ตัวดัชนีและเทคนิคที่ถูกนำมาใช้ ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น ความแตกต่างระหว่างตัวดัชนีหลักและตัวดัชนีรอง ดัชนีหลัก คือ ดัชนีที่มีค่าไม่ซ้ำกันในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน และเป็นตัวเดียวกับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลที่มีการเรียงลำดับ ดัชนีรอง คือ ดัชนีคนละตัวกับดัชนีหลัก และอาจมีค่าซ้ำกันในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน ใช้สำหรับแบ่งกลุ่ม เรียกว่า ดัชนีกลุ่ม

ตัวดัชนีและเทคนิคที่ถูกนำมาใช้ ในการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลให้เร็วขึ้น ประเภทของเทคนิคที่นำตัวดัชนีมาใช้ดึงข้อมูลให้เร็วขึ้น Inversion คือ การเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีกับระเบียน ประกอบด้วย ส่วนของแฟ้มข้อมูล อาจจัดเก็บในแฟ้มสุ่ม หรือแฟ้มลำดับเชิงดัชนี ส่วนของดัชนี ประกอบด้วยค่าของคีย์และตัวชี้ Multi-Key files มักจะสร้างดัชนีเพื่อช่วยจัดเตรียมเส้นทางเข้าถึงระเบียน