การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การพัฒนางานประจำเป็นงานวิจัย Routine to Research (R2R)
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
QUIZ Lab 2 Ag-Ab Reaction 10 points, 10 minutes
2. ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ที่ระบาดใน ประเทศเม็กซิโก A/California/04/2009
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ ของกรมแพทย์ทหารบก
จิตติวัฒน์ สุประสงค์สิน สำนักงานวิจัย รพ รามาธิบดี
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
โรคเอสแอลอี.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
การจัดกระทำข้อมูล.
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
อย่างปลอดภัยตามหลัก Biosafety และ Biosecurity
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
การแยกตัวประกอบพหุนาม
จำนวนผู้ป่วยไข้ปวดข้อยุงลาย (CHIKUNGUNYA) แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง พ. ศ.2552.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
ตัวอย่างการสอบสวนมือ เท้า ปาก และ EV71
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้ Chromogenic medium ในการวินิจฉัยเชื้อ Candida spp. จากผิวหนัง
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ สุรภี อนันตปรีชา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ การตรวจหาสารพันธุกรรม สามารถตรวจหาได้ในระยะแรกของการป่วย ตัวอย่างที่ใช้ : ซีรั่มหรือพลาสม่า ตัวอย่างที่เหมาะสม : ตัวอย่างที่เก็บในระยะ viremia (ห่างจากวันเริ่มมีไข้ 0-4 วัน) วิธีที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขใช้ : Reverse transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR)

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ (ต่อ) การตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา วิธีHemagglutination Inhibition test (HI) - เหมาะกับการตรวจหาแอนติบอดีใน ซีรั่ม หรือ พลาสม่าคู่ - ดูการเพิ่มขึ้นของแอนติบอดีอย่างน้อย 4 เท่าใน convalescent serum - แอนติบอดีต่อเดงกีและชิคุนกุนยาไม่ทำปฏิกิริยาข้ามกัน ตัวอย่างที่เหมาะสม : 1. เจาะเลือดตรั้งแรกห่างจากวันเริ่มมีไข้ 0-4 วัน 2. เจาะเลือดครั้งที่สองห่างจากวันเริ่มมีไข้ 14-25 วัน

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ (ต่อ) การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา วิธี IgM capture (MAC) ELISA ตัวอย่างที่เหมาะสม : 1. เจาะเลือดครั้งแรกห่างจากวันเริ่มมีไข้ 0-4 วัน 2. เจาะเลือดครั้งที่สองห่างจากวันเริ่มมีไข้ 14-25 วัน -IgM แอนติบอดีสามารถตรวจพบได้นานถึง 6 เดือน ฉะนั้น ควรตรวจซีรั่มคู่เพื่อดูการเพิ่มขึ้นของของแอนติบอดี

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ (ต่อ) การแยกเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา การแยกเชื้อไวรัสได้จากตัวอย่างตรวจถือว่าเป็นการยืนยันสาเหตุการเกิดโรคที่แน่นอนที่สุด ตัวอย่างที่เหมาะสม : ตัวอย่างที่เก็บในระยะ viremia (ห่างจากวันเริ่มมีไข้ 0-4 วัน) - การแยกเชื้อมีข้อจำกัดในเรื่องการเก็บและนำส่ง ตัวอย่างต้องมีคุณภาพ เนื่องจากไวรัสชิคุนกุนยาตายง่าย - ควรรีบแยกซีรัมหรือพลาสม่าทันทีหลังเก็บตัวอย่าง แล้วเก็บหลอดตัวอย่างไว้ในถังไนโตรเจนเหลว หรือ ตู้แช่แข็ง -80 ๐C ก่อนนำส่ง - ขณะนำส่งต้องใส่ถังไนโตรเจนเหลว หรือ น้ำแข็งแห้ง (dry ice) - ถ้าแยกเชื้อได้จะสามารถใช้วิเคราะห์คุณลักษณะทางแอนติเจนได้

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ (ต่อ) Rapid test สำหรับการตรวจหา IgM antibody ต่อเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา - SD BIOLINE Chikungunya IgM tests ผลิตโดยบริษัท Standard Diagnostic Inc. ประเทศเกาหลี - การตรวจโดย Rapid test เป็นการตรวจเบื้องต้น ควรมีการตรวจด้วยวิธีมาตรฐานอื่นๆ ควบคู่ไปด้วย

วิธีการตรวจมีหลายวิธีดังนี้ (ต่อ) Rapid test (ต่อ) - ผลการประเมินโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขคร่าวๆ เก็บตัวอย่างห่างจากวันเริ่มมีไข้ (วัน) Sensitivity 0-3 13.2 4-7 42.9 8-11 72.0 12-15 90.0 16-19 84.6 - Specificity = 88.9

การแปลผลการตรวจโรคไข้ชิคุนกุนยาโดยวิธี ฮีมแมกกลูติเนชั่นอินฮิบิชั่น การตอบสนอง ของแอนติบอดีต่อไวรัส ระยะการเก็บ ตัวอย่างห่าง จากวันเริ่มมีไข้ แอนติบอดีไตเตอร์ การแปลผล ชิคุนกุนยา เดงกี เจอี เพิ่มขึ้น > 4 เท่า ใดๆ Chikungunya virus infection แปลผลการตรวจไวรัสเดงกีและเจอีตาม Criteria การแปลผลการตรวจเดงกีและเจอีไวรัส

การแปลผล การตอบสนองของแอนติบอดี ต่อไวรัส ระยะการเก็บ ตัวอย่างห่าง จากวันเริ่มมีไข้ แอนติบอดีไตเตอร์ การแปลผล ชิคุนกุนยา เดงกี เจอี ชิคุนกุนยาHI titer ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือ เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 4 เท่า หรือตัวอย่างเดี่ยว ใด ใดๆ >1: 20 Chikungunya HI titer was detected at … แปลผลการตรวจไวรัสเดงกีและเจอีตาม Criteria การแปลผลการตรวจเดงกีและเจอีไวรัส 14-25 วัน <1:20 Not chikungunya virus infection <14 วัน และ > 26 วัน Uninterpretable for chikungunya virus infection

ผลการตรวจ RT-PCR เชื้อไวรัสชิคุนกุนยาให้ผลเป็นบวกหรือมี 2 fold rising ของ Chikungunya IgM antibody โดยการตรวจวิธี ELISA และค่า P/N ratio ของ Chikungunya IgM antibody > 2 (P = OD 450 ของตัวอย่าง N = OD 450 ของ negative control) แปลผล Chikungunya virus infection แปลผลการตรวจไวรัสเดงกีและไวรัสเจอีตามCriteria การแปลผลการตรวจไวรัสเดงกีและไวรัสเจอี

Table 1 RT-PCR and/or Hemaglutination Inhibition Assay results of suspected Chikungunya cases patient, April 2008 to March 2009 Tested NO. ConfirmedCHIK cases Confirmed CHIK + Dengue JE HI titer was detected Uninter pretable Negative 1849 724 34 4 338 54 632 63 (%) (39.2) (1.8) (0.2) (18.3) (2.9) (34.2) (3.4)

Table 2 RT-PCR and/or Hemaglutination Inhibition Assay results of suspected Chikungunya cases by Province, April 2008 to March 2009 1/4 Province South Tested Confirmed CHIK + Dengue + JE HI titer was detected Dengue Uninter pretable Negative No. % กระบี่ 3 2 67   1 33 ชุมพร 50 ตรัง 19 11 12 63 4 21 5 นครศรีฯ 10 20 40 นราธิวาส 801 367 46 14 129 16 17 252 31 22 ปัตตานี 412 212 51 119 29 6 พัทลุง 9 56 25 ภูเก็ต ยะลา 69 39 57 1.4 8 23 สงขลา 185 80 43 1.0 34 สตูล 7 สุราษฎร์ธานี ไม่แจ้ง 100 Total 1533 714 47 0.19 242 470

Table 2 (ต่อ) 2/4 CHIK Confirmed กรุงเทพฯ 87 2 1 28 32 5 6 51 59 Province Central Tested Confirmed CHIK + Dengue + JE HI titer was detected Dengue Uninter pretable Negative No. % กรุงเทพฯ 87 2 1   28 32 5 6 51 59 กาญจนบุรี 100 ฉะเชิงเทรา 29 7 13 45 14 48 ชลบุรี 16 4 25 31 ชัยนาท นครนายก นครปฐม 3 43 นนทบุรี 6.2 19 ปทุมธานี 50 ประจวบฯ ระยอง 57 ราชบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระแก้ว สระบุรี Total 176 0.6 55 8 86 49 10

Table 2 (ต่อ) 3/4 Province North CHIK Confirmed เชียงราย 1 100 Tested Confirmed CHIK + Dengue + JE HI titer was detected Dengue Uninter pretable Negative No. % เชียงราย 1   100 เชียงใหม่ 16 6 14 88 ตาก พิจิตร พิษณุโลก 41 7 17 2 5 31 76 เพชรบูรณ์ 50 ลำปาง สุโขทัย 44 23 52 9 20 11 25 อุตรดิตถ์ 15 33 10 67 อุทัยธานี Total 123 36 29 4 68 55 12

Table 2 (ต่อ) 4/4 CHIK Confirmed กาฬสินทร์ 2 100 ชัยภูมิ 1 50 Province N/E Tested Confirmed CHIK + Dengue + JE HI titer was detected Dengue Uninter pretable Negative No. % กาฬสินทร์ 2   100 ชัยภูมิ 1 50 นครราชสีมา 3 33 67 ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ อุบลราชธานี Total 16 6 5 31 7 44 13 ไม่แจ้ง   Total 1849 724 39 34 4 0.2 338 18 54 632 63

Table 3 Confirmed Chikungunya cases by onset, April 2008 to March 2009 Province 2008 2009 Total South Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar   กระบี่ 1 2 ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส 31 173 169 4 3 381 ปัตตานี 21 50 117 26 12 226 พัทลุง 5 9 ยะลา 18 16 40 สงขลา 19 20 85 197 251 158 66 32 13 748

Table 3 Confirmed Chikungunya cases by onset, April 2008 to March 2009 Province 2008 2009 Total Central Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar กรุงเทพมหานคร   1 3 ฉะเชิงเทรา 2 นนทบุรี 4 ปทุมธานี สระบุรี 11

Table 3 Confirmed Chikungunya cases by onset, April 2008 to March 2009 Province 2008 2009 Total   North, N/E Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar เชียงใหม่ 1 สุโขทัย 2 ศรีสะเกษ

Confirmed Chikungunya cases Table 4 Sex distribution of tested No and confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 SEX Tested Confirmed Chikungunya cases NO. % Female 1,024 55.4 442 58.0 Male 825 44.6 320 42.0 Total 1,849 100 762

Confirmed Chikungunya cases Table 5 Age distribution of tested No and confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 Age gr. Tested Confirmed Chikungunya cases NO. % < 1 year 5 0.3 1 0.1 1-4 43 2.4 11 1.5 5-9 69 3.8 30 4.0 10-14 124 6.9 58 7.8 15-24 306 17.1 106 14.2 25-34 383 21.4 128 17.2 35-44 336 18.8 153 20.5 45-54 296 16.52 143 19.2 55-64 142 7.9 66 8.9 65up 88 4.9 49 6.6 Total 1,792 100.0 745

Confirmed Chikungunya case Table 6 Region distribution of Tested No and Confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 Region Tested Confirmed Chikungunya case NO. % Central 178 9.6 11 1.4 North 123 6.6 2 0.3 North/East 14 0.8 1 0.1 South 1533 82.9 748 98.2 Unknow 0.0 Total 1,849 100.0 762

Confirmed Chikungunya case Table 7 Province distribution of confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 1/2 Region Province Confirmed Chikungunya case NO. % South Krabi 2 0.3 Chumphon 1 0.1 Trang Nakhon si thammarat Narathiwat 381 50.0 Pattani 226 29.7 Phatthalung 9 1.2 Yala 40 5.2 Songkhla 85 11.2 Total 748 98.2

Confirmed Chikungunya case Table 7 Province distribution of confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 2/2 Area Province Confirmed Chikungunya case NO. % Central Bangkok 3 0.4 Chachoengsao 2 0.3 Nonthaburi 4 0.5 Pathum thani 1 0.1 Saraburi Total 11 1.4 North Chiang Mai Sukhothai North/East Si Sa Ket

Confirmed Chikungunya case Table 8 Month distribution of tested No and confirmed Chikungunya cases, April 2008 to March 2009 Onset Tested Confirmed Chikungunya case NO. % April 2008 1 0.1 May 2008 47 2.6 June 2008 40 2.2 July 2008 2 August 2008 10 0.5 September 2008 88 4.8 31 4.1 October 2008 501 27.2 200 26.2 November 2008 487 26.4 253 33.2 December 2008 292 15.8 162 21.3 January 2009 185 10.0 68 8.9 February 2009 131 7.1 34 4.5 March 2009 65 3.5 14 1.8 Total 1,843 100.0 762

สถาบันวิจัยวิทยาศาตร์สาธารณสุขได้ดำเนินการแยกเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา โดยใช้เซลล์เพาะเลี้ยง จำนวน 41 ราย พบผลบวกจำนวน 9 ราย (21.95%)

Thank you for your attention