ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
การศึกษารายกรณี.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
เทคนิคการออกสอบสวนโรค สุทธิลักษณ์ หนูรอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับตำบล
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด สำหรับรพ.สต. หรือสอ.

ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาดที่ รพ.สต. (1) วันเดือนปีที่รับแจ้ง ผู้แจ้ง/ แหล่งข่าว โรค/อาการ/ เหตุการณ์ วันเดือนปีที่เกิดเหตุ สถานที่เกิดเหตุ จำนวนผู้ป่วย จำนวนตาย (ดูตารางหน้า 41)

ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด ที่ รพ.สต. (2) ผู้รับแจ้ง/ เวลา ตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติม การดำเนินการ ผู้ปฏิบัติ (ดูตารางหน้า 41)

แนวทางตรวจสอบข่าวการระบาด สำหรับรพ.สต. หรือสอ. (หน้า 39)

ได้รับข้อมูลจากไหน เช่น ได้รับแจ้งมาจากครูโรงเรียน โรงงาน หรือ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม) เพื่อดูว่ามาจากแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือหรือไม่ เช่น รู้จากชาวบ้านพูดต่อๆกันมา หรือรู้จากเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล

ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (1) ส่วนใหญ่มีอาการอะไร ได้รับการวินิจฉัยว่าอย่างไร วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรกและรายสุดท้าย มีผู้ป่วยทั้งหมดกี่ราย และมีผู้เสียชีวิตหรือไม่ กี่ราย เพื่อดูว่าเป็นการระบาดหรือไม่ รวมทั้งหาข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย

ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (2) เป็นเพศชาย เพศหญิงกี่ราย (อาจเป็นจำนวนโดยประมาณ) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุไหน เกิดการระบาดที่ไหน มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ (เช่น อยู่บ้านเดียวกัน ไปกินในงานเลี้ยงเดียวกัน) ยังมีแนวโน้มจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอีกหรือไม่ เพื่อดูว่าเป็นการระบาดหรือไม่ รวมทั้งหาข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย

การสอบสวนโรคเบื้องต้น (ถ้ามี) สิ่งที่อาจเป็นปัจจัยเสี่ยง(ในกรณีที่มีข้อมูล) เช่น ไปกินงานเลี้ยงเดียวกัน หรือโดนหมาบ้ากัด เป็นต้น การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม พบจำนวนเท่าไหร่ เป็นใครบ้าง ผู้ที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน ผู้ที่ทำงานด้วยกัน หรือถ้าเป็นเด็กนักเรียนก็เป็นเด็กที่อยู่ในกลุ่มที่เล่นใกล้ชิดกัน เพื่อนบ้าน

การควบคุมโรคเบื้องต้นที่ทำไปแล้ว ได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง โดยหน่วยงานไหน ผลเป็นยังไง

การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น ประเมินว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่ เช่น ประเมินจากความน่าเชื่อถือของผู้แจ้งข่าว ตรวจสอบจากแหล่งข่าวอื่นๆมากกว่าหนึ่งแหล่ง เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ (เช่น มีโอกาสแพร่กระจายในวงกว้าง มีผู้มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต ไม่เคยพบมาก่อนในพื้นที่) ต้องรีบดำเนินการหรือไม่ และต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง โดยแยกเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ต้องดำเนินการ เหตุการณ์ที่แก้ไขเองได้ และเหตุการณ์ที่ต้องได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือ เช่นแจ้งเทศบาล สาธารณสุขอำเภอ

กระบวนการแจ้งและตรวจสอบข่าวการระบาด (ดูที่หน้า 36) อสม./ เครือข่าย รับแจ้งโรค / เหตุการณ์ผิดปกติ ดู “แนวทางการแจ้งเหตุผิดปกติฯ” อสม./เครือข่าย แจ้งข่าว เป็นโรค/เหตุการณ์ ที่ควรต้องแจ้งข่าว หรือไม่ ไม่ใช่ เสร็จสิ้น ใช่ เป็นโรค/เหตุการณ์ ที่ร้ายแรง หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่รพ.สต.ทันที แจ้งเจ้าหน้าที่รพ.สต.ภายใน 1 วัน

ตำบล ตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. บันทึกรายละเอียดผู้ป่วยลงใน ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาดฯ ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม ตาม “แนวทางตรวจสอบข่าวการระบาด” ประเมินเบื้องต้น เช่น มีโรคเกิดขึ้นจริงในพื้นที่ เป็นโรคที่แพร่ระบาดได้เร็ว เป็นโรค/เหตุการณ์ ที่ต้องสอบสวน หรือไม่

เป็นโรค/เหตุการณ์ ที่ต้องสอบสวน หรือไม่ ไม่ใช่ เสร็จสิ้น รพ.สต. รายงานให้สสอ.รับทราบ เพื่อพิจารณาสอบสวนโรคต่อไป อำเภอ สอบสวน รพ.สต. และเครือข่ายในพื้นที่ ประสานขอสนับสนุนทรัพยากรเพื่อป้องกันควบคุมโรค ติดตามผลการควบคุมโรคในพื้นที่จนกว่าโรคจะสงบ

ขอบคุณ