การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
สังคมศึกษา.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
การจัดการศึกษาในชุมชน
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Preparation for Democratic Citizen
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
Good Corporate Governance
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
Change Management.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน ชูเกียรติ มุทธากาญจน์ อธิการวิทยาลัยการปกครอง

1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความขัดแย้ง * ความขัดแย้งเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ เป็นภาวะปกติที่เกิดขึ้นได้ในสังคม * ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรแปลงสภาพ ให้เป็นประโยชน์และใช้เหตุผลในการแก้ไขความขัดแย้ง

เหตุการณ์ที่บุคคลหรือกลุ่มมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน 2. ความหมาย เหตุการณ์ที่บุคคลหรือกลุ่มมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ความขัดแย้งมีทั้งเชิงทำลาย และเปลี่ยนแปลงสร้างสรรค์

3.1 ความขัดแย้งภายในองค์การ (1) โครงสร้าง (2) บุคลากร 3. ทฤษฎีความขัดแย้ง สังคมไม่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอยู่บนพื้นฐาน 3.1 ความขัดแย้งภายในองค์การ (1) โครงสร้าง (2) บุคลากร 3.2 ความขัดแย้งภายนอกองค์กรมีสาเหตุ (1) เศรษฐกิจ (2) สังคม วัฒนธรรม (3) การเมือง

3. ทฤษฎีความขัดแย้ง (ต่อ) 3.3 ระเบียบกฎหมาย (1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 - ม.63 “บุคคลมีเสรีภาพชุมนุมโดยสงบปราศจากอาวุธ” - ม.69 “บุคคลมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี” (2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งแต่ฉบับที่ 8-10 “กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน”

3. ทฤษฎีความขัดแย้ง (ต่อ) (3) คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 187/2546 ลงวันที่ 1 ก.ย. 46 “นโยบายการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี” (4) สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ “ส่งเสริมบรรยากาศการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี”

4. ชนิดความขัดแย้ง 4.1 ความขัดแย้งด้านข้อมูล มีสาเหตุ (1) ขาดข้อมูล 4. ชนิดความขัดแย้ง 4.1 ความขัดแย้งด้านข้อมูล มีสาเหตุ (1) ขาดข้อมูล (2) ข้อมูลผิดพลาด (3) มุมมองที่ต่างกัน (4) การแปลงผลข้อมูลที่ต่างกัน (5) ความแตกต่างของการเก็บและศึกษาข้อมูล

4. ชนิดความขัดแย้ง (ต่อ) 4. ชนิดความขัดแย้ง (ต่อ) 4.2 ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ มีสาเหตุ (1) อารมณ์ที่รุนแรง (2) การรับรู้คลาดเคลื่อน (3) ทัศนคติตามตัว (4) การสื่อสารไม่ดี (5) การสื่อสารผิดพลาด (6) ความประพฤติเชิงลบ 4.3 ความขัดแย้งด้านค่านิยม มีสาเหตุ (1) ความเชื่อที่ไม่ลงรอยกัน (2) ระบบค่านิยมที่ต่างกัน

4. ชนิดความขัดแย้ง (ต่อ) 4. ชนิดความขัดแย้ง (ต่อ) 4.4 ความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง มีสาเหตุ (1) ทรัพยากรที่หายาก (2) เวลา (3) ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ (4) อำนาจ / หน้าที่ (5) การตัดสินใจ 4.5 ผลประโยชน์ มีสาเหตุ (1) เนื้อหา (ทรัพยากรต่าง ๆ) (2) วิธีการ (มารยาททางสังคม) (3) จิตใจ (ความเชื่อ ความยุติธรรม)

5. สาเหตุแห่งความขัดแย้ง 5.1 ความสลับซับซ้อนของการพัฒนา 5.2 การจัดรูปแบบโครงสร้าง 5.3 ข้อมูลข่าวสารที่มากมายรวดเร็ว 5.4 กระบวนทัศน์ทางการเมือง 5.5 การบริการหลังการขายสินค้า 5.6 กฎหมาย

วิเคราะห์ปัญหาการขัดแย้ง 6. กรอบการ วิเคราะห์ปัญหาการขัดแย้ง 6.1 ประเด็นของปัญหา - รายละเอียดความขัดแย้ง - ประเภทการขัดแย้ง - ระดับการขัดแย้ง - ความเร่งด่วนปัญหา 6.2 ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง 6.3 กรอบบริบทความขัดแย้ง 6.4 กรอบนโยบาย

7. เทคนิคในการ แก้ไขความขัดแย้ง 7.1 การเผชิญหน้าและแก้ไขปัญหา 7.2 การเจรจาต่อรอง 7.3 การประนีประนอม 7.4 การเผื่อช่องว่างสำหรับเจรจาต่อรอง 7.5 เริ่มด้วยคำพูดนิ่มนวล 7.6 มุ่งไปที่ความต้องการความสนใจมากกว่ามุ่งที่ประเด็น 7.7 สร้างการยอมรับแบบค่อยเป็นค่อยไป

แก้ไขความขัดแย้ง (ต่อ) 7. เทคนิคในการ แก้ไขความขัดแย้ง (ต่อ) 7.8 ใช้วันกำหนดในการเจรจาต่อรอง 7.9 การยื่นข้อเสนอสุดท้าย 7.10 พยายามรักษาเกียรติของฝ่ายอื่น 7.11 การลดหย่อนการต่อต้าน 7.12 การแลกเปลี่ยนบทบาท 7.13 การอนุญาตให้ฝ่ายตรงข้ามผ่อนคลายความตึงเครียด 7.14 การร้องเรียนไประดับที่เหนือกว่า

8.3 ขาดแรงจูงใจของคู่เจรจา 8.4 ขาดข้อมูล 8.5 การสื่อสารไม่ดี 8. ปัจจัยที่ทำให้การ เจรจาล้มเหลว 8.1 จุดยืนที่สุดโต่ง 8.2 ขาดทรัพยากร 8.3 ขาดแรงจูงใจของคู่เจรจา 8.4 ขาดข้อมูล 8.5 การสื่อสารไม่ดี 8.6 ไม่ตระหนักถึงทางออกที่เป็นไปได้ 8.7 ขาดความรู้

9.3 ขาดความรู้ทักษะในสันติวิธี 9.4 ขาดการประชาสัมพันธ์ 9. ประเด็นที่แก้ไข ปัญหาพึงสังวร 9.1 ความเป็นกลาง 9.2 ขาดองค์กรติดตาม 9.3 ขาดความรู้ทักษะในสันติวิธี 9.4 ขาดการประชาสัมพันธ์ 9.5 กฎหมายที่ไม่ยุติธรรม

10. หลักการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ตามบทบาทฝ่ายปกครอง มีแนวทางดังนี้ “บำบัดทุกข์บำรุงสุข” สันติวิธี (1) เจรจาไกล่เกลี่ย (2) องค์กรเจรจาตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ขั้นตอนการเจรจาไกล่เกลี่ย 5 ขั้นตอน (1) ดำเนินการโดยผู้นำ (2) ดำเนินการโดยพหุภาคี (ภาครัฐ - ผู้เรียกร้อง - ผู้ชำนาญการ) (3) ดำเนินการโดยคนกลาง (4) ดำเนินการโดยกรรมการกลาง (5) ดำเนินการโดยกระบวนการทางกฎหมาย

จบการนำเสนอ