Chapter 3 Equilibrium of a Particle

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ME-RMUTI Sarthit Toolthaisong
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
Homework 2D Equilibrium of Particle
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 7 Restrained Beams
Electric force and Electric field
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
Soil Mechanics Laboratory
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
Structural Analysis (2)
Equilibrium of a Rigid Body
แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
Systems of Forces and Moments
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
จงคำนวณหา y-coordinate ของจุด Centroid ของพื้นที่ดังรูป
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Chapter Objectives Chapter Outline
Chapter Objectives Chapter Outline
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 Equilibrium of a Particle 3.1 Condition for the Equilibrium of a Particle (เงื่อนไขของความสมดุลของอนุภาค) อนุภาคอยู่กับที่ ถ้าเมื่อตอนเริ่มต้นอยู่กับที่ (static equilibrium) หรืออนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว(V) คงที่ ถ้าตอนเริ่มต้นเคลื่อนที่ด้วย V คงที่ คนยืนบนพื้น อยู่ในสภาพสมดุลย์ คนยืนบนรถที่วิ่งด้วยความเร็วคงที่อยู่ในสภาพสมดุลย์ ถ้ารถเริ่มเพิ่มความเร็ว มีอัตราเร่ง a (acceleration) หรือลดความเร็วลง คนที่ยืนอยู่ จะไม่อยู่ในสภาพสมดุลย์

3.2 Free Body Diagram (FBD) แผนภาพวัตถุอิสระ 1. วาดโครงร่างของวัตถุ โดยเป็นอิสระจากการยึดรั้ง หรือรอยต่อ หรือจุดรองรับ 2. แสดงแรงและโมเมนต์ทั้งหมด ที่กระทำต่อวัตถุ 2.1 แสดงแรงภายนอกที่กระทำทั้งหมด 2.2 วาดแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตรงบริเวณจุดรองรับ 2.3 แสดงน้ำหนักของวัตถุผ่านจุดศูนย์ถ่วงของหน้าตัด (ในกรณีที่พิจารณา) 3. แสดงสัญลักษณ์ตัวเลขสำหรับแรงที่ทราบค่าแล้ว และตัวอักษรสำหรับแรงที่ไม่ทราบค่า ตามตำแหน่งระยะทางและขนาดให้เหมาะสม

3.2 Free Body Diagram (FBD) แผนภาพวัตถุอิสระ W TB TC

3.3 Type of Force (ชนิดของแรง) แรงจะหมายถึง การผลัก ดึง หรือยก ขนาดของแรงที่เราพบใน ชีวิตประจำวัน เช่น เทปแม่เหล็กสามารถรับแรงดึงได้ 2.2 N แรงพบกันที่จุดเดียวกัน แรงหลายแรงที่ขนานกัน

แรงที่กระทำกับวัตถุ เรียกว่า Body force แรงที่กระทำกับปริมาตรของวัตถุ เรียกว่า Surface force Gravitational Force W = mg (g = 9.81 m/sec2 = gravity acceleration) Contraction Force แรงที่เกิดจากการแตะ หรือสัมผัสระหว่างวัตถุ เช่นการใช้มือดันกำแพง เส้นสัมผัส (tangent) N = Normal force f = Friction force

เราสามารถถ่ายแรง เข้าสู่วัตถุได้โดยใช้เชือกสายเคเบิล Ropes and Cables (เชือกและเคเบิล) เราสามารถถ่ายแรง เข้าสู่วัตถุได้โดยใช้เชือกสายเคเบิล เชือกเป็นเส้นตรง และแรงในเชือกจะเป็นแรงดึง (Tension) เท่านั้น น้ำหนักของเชือกหรือเคเบิลจะถือว่าน้อยมาก Pulley (รอก) แรง T1 = T2 (ในกรณีรอกไม่มีความฝืด) Springs (สปริง) F = ks

3.4 ระบบสมดุลย์แรงในระนาบ (Coplanar Force Systems) ๏ ผลรวมของเวคเตอร์ของแรงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในสภาพสมดุลย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์ ๏ ในการหาแรงที่ไม่ทราบค่าของวัตถุที่อยู่ในสภาพสมดุลย์จะต้องเขียน F.B.D. เพื่อเขียนแรงภายนอกทั้งหมดที่กระทำกับวัตถุนั้น

Ex 1: Determine the tension in cables BA and BC necessary to support the 60 kg cylinder in Figure. Ex 2: If the mass of cylinder C is 40 kg, determine the mass of cylinder A in order to hold the assembly in the position shown.

Ex 3: Determine the required length of cord AC so that the 8 kg lamp can be suspended in the position shown. The undeformed length of spring AB is l’AB = 0.4 m, and the spring has a stiffness of kAB = 300 N/m.

3.5 ระบบสมดุลย์แรงใน 3 มิติ (Three-Dimensional Force Systems) ๏ ผลรวมของเวคเตอร์ของแรงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในสภาพสมดุลย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์ โดยการคำนวณลักษณะเหมือนกับ 2 มิติ แต่เพิ่มอีก 1 ทิศทางเท่านั้น F = 0 Fxi + Fyj + Fzk = 0 Fx = 0 Fy = 0 Fz = 0

Ex 4: Determine the force in the cables and the stretch of the spring for equilibrium. Cable AD lies in the x-y plane and cable AC lies in the x-z plane. (example 3.5 R.C.Hibbeler 12nd Edition) N N/m

Ex 5: Determine the force in each cable used support the 40 kN crate shown in figure below. (example 3.7 R.C.Hibbeler 12nd Edition) m

Ex 6: Determine the tension in each cord used to support the 100-kg crate shown in figure below. (example 3.8 R.C.Hibbeler 12nd Edition)