นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
Advertisements

พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
หลักการ ถาม ตอบ คุยกันให้รู้ “เรื่องกฎหมาย” (เอกสารจัดทำขณะบรรยาย)
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานเอกสาร
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
YOUR SUBTITLE GOES HERE
คำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
ขั้นตอนการดำเนินคดี การสืบสวน การวางแผนปฏิบัติการ การตรวจค้น/จับกุม
โครงการรถยนต์คันแรกกับภาษีสรรพสามิตรถยนต์
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ซ้อมความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานในระบบ e-GP ระยะที่ ๒
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
องค์การสะพานปลา (อสป.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การจัดการน้ำเสีย (อจน.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
สิทธิที่จะรู้ ดร.นคร เสรีรักษ์.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ”
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
ขั้นตอนการจัดการเรื่องร้องเรียน
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทะเบียนราษฎร.
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
ข้อพิจารณา ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน แนวทางในการดำเนินคดีปกครอง เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นและ คดีตัวอย่างที่สำคัญ โดย นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน ผู้อำนวยการส่วนกฎหมายและระเบียบ การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

หลักการในการดำเนินคดีปกครองฯ ๑. เป็นคดีที่พิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ๒. เป็นคดีที่พิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน ๓. เป็นคดีที่พิพาทระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน ๔. เป็นคดีที่พิพาทอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ๕. เป็นคดีที่พิพาทอันเกิดจากการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ๖. เป็นคดีที่กำหนดไว้ในมาตรา ๙ แห่งกฎหมายจัดตั้งศาลปกครอง

 หน่วยงานทางปกครอง ๑. ส่วนราชการ ๒. รัฐวิสาหกิจ ๓. หน่วยงานอื่นของรัฐ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ๑. ส่วนราชการ ๒. รัฐวิสาหกิจ ส่วนท้องถิ่น ๓. หน่วยงานอื่นของรัฐ ๔. หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครอง

๑. ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ๑. ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง ๒. คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ๓. คณะกรรมการ / บุคคลที่กฎหมายให้อำนาจในการออกกฎ หรือมีมติที่มีผลต่อบุคคล ๔. บุคคลในบังคับบัญชาหรือในกำกับดูแลของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่

ลักษณะคดีปกครอง (มาตรา ๙) ๑. การออกกฎ คำสั่ง หรือการกระทำฝ่ายเดียวโดยไม่ชอบด้วย กฎหมาย ๒. ละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ๓. ละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น ๔. สัญญาทางปกครอง ๕. คดีที่กฎหมายบังคับให้ฟ้องศาลเพื่อบังคับบุคคลให้กระทำ ๖. คดีอื่นที่กฎหมายกำหนด

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ๑. ผู้เสียหาย (ม.๔๒) ๒. ได้แก้ไขความเดือดร้อนเสียหายครบขั้นตอน ๓. คำฟ้องพร้อมพยานหลักฐานและสำเนาครบ ๔. ค่าธรรมเนียมศาล (ม.๔๕) ๕. ระยะเวลาฟ้องคดี (ม.๔๙ - ๕๒) ๖. คำขอ ๗. เงื่อนไขอื่น

ผู้เสียหาย  ได้รับความเดือดร้อนเสียหายโดยตรง  ได้รับผลกระทบจากการกระทำ (อาจเดือดร้อน)  ไม่ใช่ความเสียหายในอนาคตอันไม่แน่นอนและไม่อาจคาดหมายได้  ความเดือดร้อนเสียหายคงอยู่ระหว่างพิจารณา  ความเดือดร้อนเสียหายหมดสิ้นไประหว่างพิจารณา

ดำเนินการครบถ้วนในกระบวนการภายใน ๑. มีการยื่นอุทธรณ์ จนครบถ้วน กระบวนการภายใน ๒. มีการพิจารณาอุทธรณ์ จนครบถ้วน ๓. ไม่พอใจผลของการพิจารณา

กระบวนการภายนอก ประโยชน์รวม ไม่มีอายุความ สถานะของบุคคล ไม่มีอายุความ อายุความฟ้องคดี ๙๐ วัน นับแต่ได้รู้ ๙๐ วัน นับแต่ควรรู้ ๙๐ วัน นับแต่มีหนังสือขอให้ปฏิบัติ (ไม่ชี้แจง / ชี้แจงไม่มีเหตุผล) ประโยชน์รวม ไม่มีอายุความ สถานะของบุคคล ไม่มีอายุความ มีคำฟ้อง / พยานหลักฐาน มีคำขอ มีค่าธรรมเนียม

การกำหนดข้อบังคับของศาลปกครอง ๑. ให้เพิกถอนกฎหรือคำสั่งหรือสั่งห้ามกระทำ  ๒. ให้ปฏิบัติหน้าที่ภายในเวลาที่ศาลกำหนด ๓. ให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สิน กระทำหรืองดเว้นกระทำ  ๔. ให้ถือปฏิบัติต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ๕. ให้กระทำหรือละเว้นกระทำให้เป็นไปตามกฎหมาย