แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สาระที่ 4 พีชคณิต.
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
โมเมนตัมและการชน.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลังงาน.
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การเพิ่มคำ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
พลังงานภายในระบบ.
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
(Internal energy of system)
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
วิธีทำ ตัวอย่างที่ วิธีทำ สินค้าทั้งหมดของ โรงงาน ตัวอย่างที่ 2.20.
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
สนามอุตุนิยมวิทยา.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส

ความหมายของแรงลอยตัว ?...? ความหมายของแรงลอยตัว แรงลอยตัว (hydrostatic lift หรือ buoyancy) หมายถึง แรงลัพธ์ที่ของไหลกระทำต่อผิวของวัตถุที่จมบางส่วนหรือจมทั้งชิ้นวัตถุ ซึ่งเป็นแรงปฏิกิริยาโต้ตอบในทิศทางขึ้นเพื่อให้เกิดความสมดุลกับการที่วัตถุมีน้ำหนักพยายามจมลงอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของโลก

แรงลอยตัว (buoyant force) หรือแรงพยุงของของเหลวทุกชนิดเป็นไปตามหลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes' Principle) ซึ่งกล่าวว่า แรงลอยตัวหรือแรงพยุงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุ มีขนาดเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมอยู่ในของเหลว    วัตถุ <  ของเหลว  วัตถุ =  ของเหลว  วัตถุ > ของเหลว  

น้ำหนักของวัตถุ = น้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ ความหนาแน่น  = M / V หรือ M = V ดังนั้น Mg = Vg แรงลอยตัว = น้ำหนักของของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุส่วนจม = ของเหลวVส่วนจม g น้ำหนักของวัตถุ = น้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ ถ้าวัตถุนั้นไม่ลอย เมื่อชั่งในของเหลวจะได้น้ำหนักน้อยกว่าชั่งในอากาศ น้ำหนักที่หายไปมีค่าเท่ากับน้ำหนักของเหลวปริมาตรเท่าวัตถุ

1. ไม่มีเชือกผูก ก็ลอยนิ่งในของเหลวได้ 2. ถ้ามีเชือกผูก เชือกต้องหย่อน ของลอย วัตถุที่จัดว่า ลอยในของเหลว ต้องเข้าหลักดังนี้ 1. ไม่มีเชือกผูก ก็ลอยนิ่งในของเหลวได้ 2. ถ้ามีเชือกผูก เชือกต้องหย่อน 3. วัตถุอยู่ไม่ถึงก้นภาชนะ

ลอยธรรมดา ลอยมีน้ำหนักกด ลอยมีน้ำหนักถ่วง ลอยธรรมดา ลอยมีน้ำหนักกด ลอยมีน้ำหนักถ่วง ตุ้ม ไม้ B3 ไม้ ตุ้ม B4 B1 B2 ภาพ 1 ภาพ 2 ภาพ 3 ของลอยที่ลอยนิ่งได้ แสดงว่า สมดุล แรงขึ้น = แรงลง ภาพ 1 B1 = W ไม้ทั้งก้อน ภาพ 2 B2 = W ไม้ทั้งก้อน + W ตุ้ม ภาพ 3 B3 + B4 = W ไม้ทั้งก้อน + W ตุ้ม การที่วัตถุไม่ขึ้นหรือลง แสดงว่า สมดุล แรงขึ้น = แรงลง ดังนั้น น้ำหนักของเหลวที่ถูกแทนที่ = น้ำหนักวัตถุทั้งก้อนในอากาศ

ข้อควรจำ 1." ของเหลวที่ถูกแทนที่" และ "น้ำหนักวัตถุในอากาศ" อาจมีมากกว่า 1 แรงก็ได้ เช่น ภาพที่ 3 (ต้องสังเกตแรงจากรูป) 2. คำว่า "น้ำหนักของวัตถุในอากาศ" หมายถึง น้ำหนักวัตถุทั้งก้อน 3.คำว่า "กด" แปลว่า มีตุ้มน้ำหนักวางทับอยู่ตอนบน 4.คำว่า "ถ่วง" แปลว่า มีตุ้มน้ำหนักดึงอยู่ตอนล่าง และตุ้มน้ำหนักแทนที่น้ำด้วย 5.ถ้าไม่จำเป็น ไม่ควรคิดน้ำหนักวัตถุในของเหลว ให้พิจารณาเป็นน้ำหนักวัตถุในอากาศทั้งหมด แรงลอยตัว เท่ากับน้ำหนักของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม (หรือน้ำหนักของเหลวที่ถูกแทนที่) แรงยกตัว เท่ากับน้ำหนักของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่ลอย

หลักของอาร์คีมิดิส วัตถุใดๆอยู่ในของไหลทั้งก้อนหรือจมอยู่เพียงบางส่วนจะถูกแรงลอยตัวกระทำ และขนาดของแรงลอยตัวจะเท่ากับ ขนาดของน้ำหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่ ซึ่งเขียนใหม่ได้ว่า ขนาดของแรงลอยตัว = ขนาดของน้ำหนักของของไหลที่ถูกวัตถุแทนที่ หรือ ขนาดของแรงลอยตัว = ขนาดของน้ำหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนจม - ถ้าขนาดของแรงลอยตัวมีค่าน้อยกว่าน้ำหนักของวัตถุ วัตถุจะจมในของไหลนั้น - ถ้าขนาดของแรงลอยตัวมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับน้ำหนักของวัตถุ วัตถุจะลอยในของเหลวนั้น - น้ำหนักของวัตถุที่ที่หายไปในของเหลวจะมีขนาดเท่ากับ น้ำหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม