การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
3. ข้อสอบที่ตัวลวงไม่มีประสิทธิภาพ คือ เห็นได้ชัดว่าตัวลวงผิด
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การจัดกระทำข้อมูล.
การประเมินผลการเรียน
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis

1. จุดมุ่งหมาย 1.1 ตรวจสอบคุณสมบัติของข้อสอบ 1.1 ตรวจสอบคุณสมบัติของข้อสอบ 1.2 ตรวจสอบระดับความยากง่ายของข้อสอบ 1.3 ตรวจสอบข้อบกพร่องของข้อสอบ

2. ลักษณะของข้อสอบที่ดี 2.1 มีความตรง (Validity) วัดได้ตรงคุณลักษณะที่ต้องการวัดตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ 2.1.1 ตรงตามเนื้อหา (Content Validity) 2.1.2 ตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) 2.1.3 ตรงตามพยากรณ์ (Predictive Validity) 2.1.4 ตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)

ลักษณะของข้อสอบที่ดี (ต่อ) 2.2 มีความเที่ยง (Reliability) ความคงเส้นคงวาของผลการวัด 2.2.1 แบบสอบซ้ำ (Test-Retest) 2.2.2 แบบแบ่งครึ่งข้อสอบ (Split half) 2.2.3 แบบคู่ขนาน (Parallel Form) 2.2.4 แบบวัดความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency)

ลักษณะของข้อสอบที่ดี (ต่อ) 2.3 มีความเป็นปรนัย (Objectivity) อ่านแล้ว เข้าใจได้ตรงกัน ให้คะแนนและแปลความหมายของคะแนนได้ตรงกัน 2.4 มีค่าอำนาจจำแนกเหมาะสม(Discrimination) แยกนักเรียนเก่งและอ่อนได้ถูกต้อง

ลักษณะของข้อสอบที่ดี (ต่อ) 2.5 มีความยากง่ายพอเหมาะ (Difficalty) ความยากง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา 2.6 มีความยุติธรรม (Fairness)เดาไม่ได้ ครอบคลุมเนื้อหาในหลักสูตร 2.7 ถามลึก(Searching)ไม่ถามเฉพาะความรู้ ความจำ

ลักษณะของข้อสอบที่ดี (ต่อ) 2.8 มีความเฉพาะเจาะจง (Definite) ข้อคำถามมีความเฉพาะเจาะจงมีความหมายเดียว 2.9 มีลักษณะท้าทาย (Challenge) และเป็นตัวอย่างที่ดี(Examplary) เรียงข้อสอบจากง่ายไปยาก ถามเรื่องที่น่าสนใจ และเป็นแบบอย่างที่ดี 2.10 มีประสิทธิภาพ (Efficiency) นำไปไช้ง่าย ไม่สิ้นเปลืองเวลา เงินและแรงงานมาก และนำผลการสอบไปใช้ได้คุ้มค่า

3. การวิเคราะห์ข้อสอบ 3.1 ก่อนนำไปใช้ 3.1.1 ตรวจสอบคุณภาพรายข้อ 3.1.2 ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดมุ่งหมาย (Item-Objective Congruence: IOC)

3. การวิเคราะห์ข้อสอบ (ต่อ) 3.2 หลังการนำไปใช้ 3.1.1 ตรวจสอบคุณภาพรายข้อ 1) ความยากง่าย (p) 2) อำนาจจำแนก (r) 3.1.2 ตรวจสอบความเที่ยงของข้อสอบทั้งฉบับ (KR-20)

เกณฑ์การวิเคราะห์ข้อสอบ ค่าความยากง่าย (p) มีค่า .20 - .80 .20 ยาก .50 ปานกลาง .80 ยาก ค่าอำนาจจำแนก มีค่า .20 - 1.00 ค่าความเที่ยงมีค่าประมาณ .80 ขึ้นไป

4. หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 4.1 เน้นเรื่องที่จะถามให้ชัดเจน และตรงจุด 4.2 แต่ละข้อควรถามอย่างเดียว 4.3 ใช้ภาษาเหมาะสมกับวัยของผู้ตอบ ใช้ประโยคสั้นๆ ง่าย และกะทัดรัด 4.4 ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย 4.5 ไม่ควรใช้คำถามปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อน ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรขีดเส้นใต้

4. หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 4.6 แต่ละข้อต้องมีคำตอบเดียว 4.7 ต้องเขียนตัวถูกหรือตัวผิดตามหลักวิชา 4.8 ตัวเลือกแต่ละตัวต้องเป็นอิสระต่อกัน 4.9 จำนวนตัวเลือกเหมาะสมกับระดับชั้นของเด็ก 4.10 มีความเป็นเอกพันธ์ ตัวเลือกมีความสอดคล้องกัน มีทิศทางเดียวกัน และเป็นชนิดหรือประเภทเดียวกัน

4. หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 4.11 พยายามใช้รูปภาพ 4.12 หลีกเหลี่ยงคำขยายที่แนะคำตอบ 4.13 เป็นคำถามที่วัดสมองขั้น 2.00 - 6.00

4. หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 4.14 ระวังการแนะคำตอบ 1) อย่าให้ข้อสอบซ้ำกัน/ถามเรื่องเดียวกัน 2) ตัวถูกและตัวลวงควรมีความยาวพอๆ กัน 3) อย่าให้ตัวถูกใช้คำซ้ำกับคำถาม 4) ตัวถูกไม่ใช้คำศัพท์/ภาษาแปลกกว่าตัวอื่น 5) ตัวถูกและตัวลวง ถูก/ผิดชัดเจนเกินไป 6) ไม่ควรให้คำถามบางข้อเป็นคำตอบของข้อ

ตัวอย่างข้อสอบ 1. ถ้านักเรียนไม่อยากสอบตก นักเรียนไม่ควรทำเช่นใด 1. ถ้านักเรียนไม่อยากสอบตก นักเรียนไม่ควรทำเช่นใด 2. พืชที่เป็นสินค้าออกของไทยได้แก่อะไร 3. ปักกิ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศใด อยู่ในทวีปอะไร 4. ถ้าเราแปรงฟันไม่สะอาด มีเศษอาหารติดตามซอกฟันเสมอๆ จะทำให้เกิดอะไร 5. ภูพานเป็น

6. การปกครองส่วนภูมิภาคของไทยแบ่งเป็นจังหวัดและอำเภอ ปัจจุบันประเทศไทยแบ่งเป็นกี่จังหวัด ก. 73 จังหวัด ข. 74 จังหวัด ค. 75 จังหวัด ง. 76 จังหวัด 7. อาชีพใดเป็นอาชีพที่สำคัญที่สุดของคนไทย ก. ทำนา ข. ทำเหมืองแร่ ค. อุตสาหกรรม ง. กสิกรรม

8. ข้อใดไม่เข้าพวก ก. เนื้อ ข. นม ค. ไข่ ง. ปลา จ. ข้าว

9. น้ำเดือดที่ 100 องศาเซ็นเซียส

10. จงหาความสูงของตึกโดยใช้บารอร์มิเตอร์