ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
บุญ.
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
การใช้เวลาว่างและนันทนาการ
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
สถาบันการศึกษา.
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
รายละเอียดของรายวิชา
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สัปปุริสธรรม 7 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
จอห์น ซี แม็คเวล (John C Maxwell) กล่าวว่า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
การเขียนโครงการ.
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การทัศนศึกษา.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม

คนสมบูรณ์แบบ (สมาชิกแบบอย่างของมนุษยชาติ) คนสมบูรณ์แบบ หรือมนุษย์โดยสมบูรณ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นสมาชิก ที่ดีมีคุณค่าอย่างแท้จริงของมนุษยชาติ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นคนเต็มคน ผู้สามารถนำหมู่ชนและสังคมไปสู่สันติสุขและความสวัสดี มีธรรม หรือคุณสมบัติ ๗ ประการ ดังต่อไปนี้

๑. ธัมมัญญุตา รู้หลักและรู้จักเหตุ คือรู้หลักการและกฎเกณฑ์ของสิ่งทั้งหลาย ที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้อง ในการดำเนินชีวิต ในการปฏิบัติ กิจหน้าที่ และดำเนินกิจการต่าง ๆ รู้เข้าใจสิ่งที่ตนจะต้องปฏิบัติตามเหตุผลเช่น รู้ว่า ตำแหน่ง ฐานะ อาชีพ การงานของตน มีหน้าที่ และความรับผิดชอบอย่างไรจะต้อง ทำอย่างไร จึงจะเป็นเหตุให้บรรลุถึงผลสำเร็จ

๒. อัตถัญญุตา รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล คือรู้ความหมาย และความมุ่งหมายของหลักการที่ตนปฏิบัติ เข้าใจ วัตถุประสงค์ของกิจการที่ตนกระทำ รู้ว่าที่ตนทำอยู่อย่างนั้น ๆ ดำเนินชีวิตอย่างนั้น เพื่อประสงค์ประโยชน์อะไร หรือควรจะได้ บรรลุถึงผลอะไร

๓. อัตตัญญุตา รู้ตน รู้ตามเป็นจริงว่า ตัวเรานั้น ว่าโดยฐานะ ภาวะเพศ กำลังความรู้ ความถนัด ความสามารถ และคุณธรรม เป็นต้น บัดนี้เท่าไร อย่างไร แล้วประพฤติปฏิบัติให้เหมาะสม และทำการต่าง ๆ ให้สอดคล้องถูกจุด ที่จะสัมฤทธิ์ผล

๔. มัตตัญญุตา รู้ประมาณ คือรู้จักพอดี เช่นรู้จักประมาณ ในการบริโภค ในการใช้จ่ายทรัพย์ รู้จักความพอเหมาะพอดี ในการพูด การปฏิบัติกิจ และทำการต่าง ๆ ตลอดจนการพักผ่อนนอนหลับและการสนุกสนานรื่นเริงทั้งหลาย ทำการทุกอย่างด้วยความเข้าใจวัตถุประสงค์เพื่อผลดีแท้จริง ที่พึงต้องการ

๕. กาลัญญุตา รู้กาล คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่พึงใช้ในการประกอบกิจ ทำหน้าที่การงาน ปฏิบัติการต่าง ๆ และเกี่ยวข้องกับผู้อื่น เช่น รู้ว่า เวลาไหน ควรทำอะไร อย่างไร และทำให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทันเวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา ให้ถูกเวลา ตลอดจนรู้จัก กะเวลาและวางแผนการใช้เวลา อย่างได้ผล

๖. ปริสัญญุตา รู้ชุมชน คือ รู้จักถิ่น รู้จักที่ชุมนุม และชุมชน รู้การอันควรประพฤติปฏิบัติ ในถิ่นชุมนุม และต่อชุมชนนั้นว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหาควรทำกิริยา อย่างนี้ ควรพูดอย่างนี้ ชุมชนนี้ มีระเบียบอย่างนี้ มีวัฒนธรรมประเพณีอย่างนี้ มีความต้องการอย่างนี้ควรเกี่ยวข้อง ควรต้องสงเคราะห์ ควรรับใช้ ควรบำเพ็ญประโยชน์ให้อย่างนี้ ๆ เป็นต้น

๗. ปุคคลัญญุตา รู้บุคคล คือ รู้จักและเข้าใจความแตกต่าง แห่งบุคคลว่า โดยอัธยาศัยความสามารถ และคุณธรรม เป็นต้น ใคร ๆ ยิ่งหรือ หย่อนอย่างไร และรู้จักที่จะปฏิบัติ ต่อบุคคลอื่น ๆ ด้วยดี ควรจะคบหรือไม่ ได้คติอะไร จะสัมพันธ์เกี่ยวข้อง จะใช้ จะยกย่อง จะตำหนิ หรือจะแนะนำสั่งสอนอย่างไร จึงจะได้ผลดีดังนี้ เป็นต้น