Menu Analyze > Correlate

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สหสัมพันธ์ (correlation)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
Probability & Statistics
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
สหสัมพันธ์ (correlation)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
Correlation Tipsuda Janjamlha 06 Sep. 08. X1X2 > interval Ho: ตัวแปรทั้ง 2 ไม่มี ความสัมพันธ์กัน Ha: ตัวแปรทั้ง 2 มีความสัมพันธ์ กัน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Menu Analyze > Correlate บทที่ 6 สหสัมพันธ์ ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สถิติที่นิยมใช้ในการศึกษาตัวหนึ่งคือสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Menu Analyze > Correlate ผลจากการใช้คำสั่งนี้ มีทางเลือกต่อไป 3 ทางคือ 1. Bivariate 2. Partial 3. Distances

Bivariate เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว โดยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์ และมีค่าสัมประสิทธิ์ให้เลือกทำการศึกษา 3 ตัวด้วยกันคือ 1. Pearson 2. Kendall’s tau-b 3. Spearman ผลลัพธ์ที่ได้นอกจากคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์แล้วยังทำการ ทดสอบสมมติฐาน เกี่ยวกับค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์ของประชากรอีกด้วย

Flags significant correlations เป็นคำสั่งที่ให้แสดงค่าระดับนัยสำคัญของ สปส.สหสัมพันธ์ ถ้ามีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 แสดงด้วยเครื่องหมาย * ถ้ามีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แสดงด้วยเครื่องหมาย **

OPTIONS ในกรณีของ Missing Values 1. Excluded cases pairwise(default) ตัดเฉพาะค่าที่หายไปของตัวแปรทั้ง 2 ที่ต้องการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 2. Exclude cases listwise ตัด case ที่มีค่าสูญหายออกทั้งหมดไม่นำมาวิเคราะห์ใดๆทั้งสิ้น

OPTIONS ในกลุ่ม Statistics 1. Means and Standard deviations : หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละตัวแปร 2. Cross-product deviations and Covariances : แสดงค่า Sum of Square และ Sum of Cross-product รวมทั้ง Covariance ระหว่างตัวแปรทั้ง 2

Pearson Correlation Coefficient เป็นการศึกษาว่าตัวแปรทั้ง 2 (X,Y) มีความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ ค่าของสปส. สหสัมพันธ์มีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 เครื่องหมาย + และ - แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ ค่า สปส.มีค่าเป็น + หมายถึง ค่าของตัวแปร X เพิ่ม ค่าของตัวแปร Y มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้น ค่า สปส.มีค่าเป็น - หมายถึง ค่าของตัวแปร X เพิ่ม ค่าของตัวแปร Y มีแนวโน้มว่าจะลดลง

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Pearson) จากตัวอย่างหาได้โดย การทดสอบสมมติฐาน H0 : เทียบกับ H1 : สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ

Kendall’s tau-b เป็นการวัดความสัมพันธ์ของตัวแปรของ Non-parametric โดยลักษณะของข้อมูลเป็นการวัดด้วย Ordinal scale หรือการให้อันดับ (rank) และมีค่าซ้ำๆเกิดขึ้นลักษณะของข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในตรารางแจกแจงความถี่ จำแนกตามตั้วแปรที่ต้องการวัด ค่าของสปส. อยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 ค่าสัมประสิทธิ์จะมีค่า - 1 หรือ +1 ก็ต่อเมื่อตารางแจกแจงความถี่เป็น Square table นั่นคือจำนวนกลุ่มของตัวแปร X และ Y มีจำนวนที่เท่ากัน

Spearman เป็นการวัดความสัมพันธ์ของตัวแปรของ Non-parametric อีกวิธีหนึ่งแต่ลักษณะจะมีความคล้ายกับสปส.ที่หาด้วยวิธีการของ Pearson แต่ข้อมูลเป็นลักษณะของการให้อันดับ (rank) หรือวัดด้วย Ordinal scale ค่าของสปส. อยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 และไม่ต้องการข้อสมมติที่ว่าประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ ลักษณะของข้อมูลจะมีความแตกต่างจาก Kendall ’ s tau-b โดยข้อมูลมักถูกวัดด้วย interval หรือ ratio scale แต่ประชากรไม่ได้มีการแจกแจงแบบปกติ การคำนวณจึงพิจารณาจากอันดับของค่าสังเกตแทนข้อมูลดิบ ถ้าพิจารณาจากข้อมูลดิบจึงใช้ Pearson Correlation

การใส่ตัวแปร click ที่ตัวแปรที่ต้องการใน box ของ Variable list ต้อง click ตัวแปรทั้ง 2 จนครบแล้วจึง click ที่ลูกศรให้ตัวแปรทั้ง 2 ใส่เข้าไปใน box ของ Variables ทางขวามือ

Menu Analyze > Correlate > Partial เป็นการวัดความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปร 2 ตัวเมื่อควบคุมอิทธิพลของความสัมพันธ์เชิงเส้นของตัวแปรอื่น (อาจมีมากกว่า 1 ตัวแปร) ตัวอย่าง : ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเงินเดือนเริ่มต้น และเงินเดือนปัจจุบัน แต่ความเป็นจริงอาจมีอิทธิพลจากประสบการณ์ก่อนเข้าทำงาน ดังนั้นจึงทำการควบคุมตัวแปรนี้ก่อนแล้วจึงศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างเงินเดือนเริ่มต้น และเงินเดือนปัจจุบันต่อไป

การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ว่าสปส การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ว่าสปส.สหสัมพันธ์บางส่วนนั้นมีค่าเท่ากับ 0 หรือไม่ สามารถทดสอบได้โดยใช้ตัวสถิติ ถ้าในการควบคุมตัวแปรมีมากกว่า 1 ตัว จำนวนตัวแปรที่ควบคุมเป็นลำดับของสหสัมพันธ์บางส่วน

Display Actual Significance level คำสั่งนี้แสดงค่าความน่าจะเป็น (p-value) และ degree of freedom ของสัมประสิทธิ์แต่ละตัว (default) ถ้าไม่ต้องการ click เครื่องหมายออกไป ผลลัพธ์แสดงความมีนัยสำคัญของค่าสัมประสิทธิ์ที่ระดับ 0.05 ด้วยเครื่องหมาย* และ ความมีนัยสำคัญของค่าสัมประสิทธิ์ที่ระดับ 0.01 ด้วยเครื่องหมาย **

OPTIONS ในกรณีของ Statistics 1. Mean and standard deviations : ต้องการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรทั้ง 2 2. Zero-order correlations : แสดงเมตริกซ์ของสหสัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างตัวแปรทั้ง 2