กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มที่ 2 1. ผู้เยาว์สิ้นสุดการเป็นผู้เยาว์เมื่อใด
Advertisements

กฎหมายมรดก.
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
SMART Disclosure Program
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
การค้ามนุษย์.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
กฎหมายลักษณะบุคคล.
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ทะเบียนครอบครัว โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
องค์การสุรา กรมสรรพสามิต
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด (บอก.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การคลังสินค้า (อคส.)
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
บริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม.
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่.
บทที่ 1 บุคคล.
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
สวัสดิการการรักษาพยาบาล
Subject of Law ใครบ้างที่มีตัวตนในสายตาของกฎหมาย? 12 Subject of Law.
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ วิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รหัสวิชา ๒๕๖๒๓๐๗

โปรแกรมวิชานิติศาสตร์ ผู้สอน อ.เตชิต ศิรวงศ์เดชา โปรแกรมวิชานิติศาสตร์

บทที่ 1 บุคคล

ป.พ.พ.มาตรา15 “สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก”

บุคคล หมายถึง สิ่งที่สามารถมีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย และมิได้หมายถึงเฉพาะสิ่งมีชีวิตคือบุคคลธรรมดาเท่านั้น แต่กฎหมายยังให้การรับรองถึงคณะบุคคล กิจการหรือทรัพย์สินบางอย่างตามที่กฎหมายรับรองที่เรียกว่า นิติบุคคล อีกด้วย

บุคคลแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. บุคคลธรรมดา 2. นิติบุคคล

บุคคลธรรมดา จะเริ่มมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายเมื่อบุคคลนั้นมีสภาพบุคคลแล้ว

สภาพบุคคล คือ สิ่งที่บ่งบอกถึงการเริ่มต้นสถานะของบุคคลธรรมดา ในอันที่จะมีสิทธิและหน้าที่ ตามกฎหมาย

การเริ่มสภาพบุคคล(ม.15 วรรคแรก) มีหลักเกณฑ์ 2 ประการคือ 1. มีการคลอด 2. มีการอยู่รอดเป็นทารก

ในกรณีที่ไม่รู้วันเกิดของบุคคล (ม.16) 1. กรณีไม่รู้วันเกิด แต่รู้เดือนเกิดปีเกิด ถือว่าเกิดวันที่ 1ของเดือนนั้น 2. กรณีไม่รู้วันเดือนที่เกิด แต่รู้ปีเกิด ถือว่าเกิดวันต้นปีปฏิทิน

ผู้ไร้ความสามารถ 1. ผู้เยาว์ บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. คนไร้ความสามารถ บุคคลวิกลจริตที่ศาลสั่ง

ผู้ไร้ความสามารถ 3. คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ บุคคลที่มีลักษณะดังนี้ ก. กายพิการ ข. มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ค. ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ ง. ติดสุรายาเมา จ. เหตุอื่นทำนองเดียวกับใน 4 ประการข้างต้น

ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับบุคคล 1. การแปลงเพศ 2. มนุษย์โคลนนิ่ง 3. เด็กเกิดจากการรับจ้างอุ้มท้อง

การสิ้นสภาพบุคคล มี 3 กรณี คือ 1. การตายตามธรรมชาติ 2. การตายโดยผลของกฎหมาย (สาบสูญ) 3. การตายทางการแพทย์ (สมองตาย)

การตายของบุคคล หมายถึง บุคคลนั้นถึงแก่กรรม คือ 1. หัวใจหยุดเต้น 2. ไม่มีลมหายใจ 3. ไม่มีการเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างสิ้นเชิง ซึ่งการดำรงชีวิตของบุคคลอาศัย 3 ระบบสำคัญ ดังนี้ 1. ระบบประสาทกลาง (สมอง) 2. ระบบไหลเวียน (หัวใจและหลอดเลือด) 3. ระบบหายใจ (หลอดลมและปอด)

หลักเกณฑ์ของการสาปสูญ 1. ผู้ ไม่อยู่ 2. คนสาปสูญ

คนสาปสูญ มี 2 กรณี ดังนี้ มี 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีธรรมดาหายไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นเวลา 5 ปี 2. กรณีพิเศษ ในเหตุการณ์ต่อไปนี้

คนสาปสูญ หากบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปเป็นเวลา 2 ปีนับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง หากบุคคลนั้นเดินทางและหายไปเป็นเวลา 2 ปีนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทาง อับปาง ถูกทำลาย หรือสูญหาย หากบุคคลนั้นอยู่เหตุอันตรายแก่ชีวิตอย่างใด ๆ และหายไปเป็นเวลา 2 ปีนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิตนั้นได้ผ่านพ้นไป

ผลของการสิ้นสภาพบุคคล 1. บุคคลสิ้นสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย 2. ทรัพย์สินตลอดจนสิทธิหน้าที่ตกทอดแก่ทายาท 3. การสมรสสิ้นสุด เว้นการสาปสูญเป็นเหตุฟ้องหย่า

สิทธิของทารกในครรภ์มารดา (ม.15วรรค 2) จะมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายเมื่อเกิดมารอดอยู่ ภายใน 310 วันนับแต่เวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย

นิติบุคคล

ความหมายของนิติบุคคล คือ บุคคลประเภทหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นโดยอำนาจของ กฎหมายมีสิทธิและหน้าที่และความรับผิดเช่นเดียวกับ บุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิและหน้าที่บางประการ ซึ่งจะมีได้เฉพาะบุคคลธรรมดา และจะต้องอยู่ภายใน ขอบเขตตามข้อบัญญัติแห่งกฎหมาย และวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งนิติบุคคล

การก่อตั้งนิติบุคคล แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มี 4 ชนิด ได้แก่ ก. สมาคม ข. มูลนิธิ ค. ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน ง. บริษัท 2. อาศัยอำนาจตามกฎหมายอื่น ๆ

สิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคล 1. ตามบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ. และกฎหมายอื่น 2. ภายในขอบแห่งอำนาจ หน้าที่ และวัตถุประสงค์ ของตนดังที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง

ข้อกำจัดสิทธิและหน้าที่ของนิติบุคคล 1. กฎหมายบัญญัติไว้ว่านิติบุคคลจะมีสิทธิและหน้าที่ เพียงใดแล้ว ก็คงมีสิทธิเพียงนั้น 2. สิทธิและหน้าที่นั้นพึงมีพึงเป็นได้เฉพาะ บุคคลธรรมดาเท่านั้น

ภูมิลำเนาของนิติบุคคล 1. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ 2. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งที่ทำการ 3. ถิ่นที่ได้เลือกเอาเป็นภูมิลำเนาเฉพาะการ ตามข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง 4. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งของที่ทำการหรือของสำนักงานสาขาในส่วนกิจการอันได้กระทำ ณ ที่นั่น

ผู้แทนนิติบุคคล เนื่องจากนิติบุคคลเป็นบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น ฉะนั้นโดยสภาพนิติบุคคลไม่สามารถจัดกิจการงานด้วยตนเองได้ กฎหมายจึงบัญญัติให้มีบุคคลหนึ่งหรือคณะหนึ่งเรียกว่า

ผู้แทนนิติบุคคล เป็นผู้กระทำกิจการภายในขอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล สำหรับผู้แทนอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น 1. ห้างหุ้นส่วน - หุ้นส่วนผู้จัดการ 2. บริษัทจำกัด - กรรมการ 3. วัด - เจ้าอาวาส 4. กระทรวง - รัฐมนตรี

การดำเนินกิจการของนิติบุคคล ต้องดำเนินกิจการไปตามเสียงข้างมากของ ผู้แทนนิติบุคคล ภายใต้ 1. ข้อกำหนดตามกฎหมาย 2. ข้อกำหนดตามข้อบังคับ 3. ข้อกำหนดตามตราสารจัดตั้ง

ความรับผิดของนิติบุคคล 1. ความรับผิดทางแพ่ง 2. ความรับผิดอาญา

การสิ้นสภาพนิติบุคคล 1. เป็นไปตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้ง 2. โดยข้อตกลงของผู้เกี่ยวข้อง 3. โดยผลของกฎหมาย 4. โดยคำสั่งศาล