การออกแบบการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Research and Development (R&D)
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Experimental Research
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
Uncertainty of Measurement
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
กระบวนการวิจัย Process of Research
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบการวิจัย

ความหมายแบบการวิจัย แบบการวิจัยหมายถึง แผน (Plan) โครงสร้าง (Structure) และยุทธวิธี (Strategy) ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบต่อปัญหาวิจัย (Keringer.1972)

Research design แบบการวิจัย – รูปแบบเฉพาะของการวิจัยเพื่อตอบสนองจุดม่งหมายการวิจัยหนึ่ง การออกแบบการวิจัย – การวางโครงสร้าง/กรอบการวิจัย ครอบคลุมตั้งแต่การกำหนดปัญหาการวิจัย การวางกรอบตัวแปร การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผล เปรียบเสมือนการพิมพ์เขียวการวิจัย

การออกแบบการวิจัย หมายถึง การจำกัดขอบเขตและการวางรูปแบบการวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่เหมาะสมกับปัญหาการวิจัย ผลการออกแบบการวิจัยทำให้ได้แบบที่เรียกว่า “แบบการวิจัย” ซึ่งประดุจพิมพ์เขียวของการวิจัย (พวงรัตน์ ทวีรัตน์.2543)

การออกแบบการวิจัย (research design) เป็นการวางกรอบการวิจัย ส่วนเค้าโครงการวิจัย (research proposal) เป็นการวางรายละเอียดภายใต้กรอบวิจัย

วัตถุประสงค์การออกแบบการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบต่อปัญหาที่ทำการวิจัยอย่างถูกต้อง แม่นยำ เป็นปรนัย เพื่อควบคุมหรือขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อน เพื่ออธิบายหรือควบคุมความแปรปรวน (varance)

การอธิบายหรือควบคุมตัวแปร ผลสัมฤทธิ์ การอธิบายความแปรปรวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแปรเจตคติ ความถนัด ครอบครัว อายุ เจตคติ อายุ ครอบครัว ความถนัด

ประโยชน์การออกแบบการวิจัย ช่วยสามารถวางแผนควบคุมตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อนได้ ช่วยให้เลือกใช้สถิติได้อย่างเหมาะสม ช่วยในการกำหนดและสร้างเครื่องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ช่วยในการคำนวณค่าใช้จ่าย แรงงานในการทำวิจัย ช่วยประเมินผลการวิจัยว่าถูกต้องแค่ไหน

จุดมุ่งหมายของการวิจัย end – soughts of research (Miller.1990) to control to explain/predict to describe to explore

หลักการออกแบบการวิจัย : The Max Min Con Principle (เชิงทดลอง)

Max : Maximization หมายถึง การทำให้ความแปรปรวนของตัวแปรตามอันเนื่องมาจากตัวแปรอิสระมีค่าสูงสุด(Maximization of systematic variance) ให้ตัวแปรอิสระมีความแตกต่างกันมากที่สุด เพื่อให้ผลการเปรียบเทียบที่วัดจากตัวแปรตามชัดเจนที่สุด

Min : Minimization หมายถึง ทำให้ความแปรปรวนอันเนื่องมาจากความคลาดเคลื่อนต่างๆมีค่าต่ำสุด (Minimization of error variance) ความคลาดเคลื่อนอาจเกิดจากความแตกต่างระหว่างบุคล หรือเกิดจากการวัด

Con : Control หมายถึง ควบคุมตัวแปรปรวน อันเกิดจากตัวแปรแทรกซ้อนอย่างมีระบบ (Control Extraneous Systematic Variance) เป็นการพยายามทำให้ตัวแปรเกิดจากการกระทำโดยตรงอย่างสมบูรณ์จากตัวแปรอิสระ

Statistical Control เป็นการใช้สถิติหรือวิธีการทางสถิติมาควบคุม เช่น Analysis of covariance ซึ่งสามารถปรับคุณสมบัติที่ต่างกันบางประการของกลุ่มตัวอย่างได้

ความเที่ยงตรงของการออกแบบการวิจัย Validity of Research Design

เป็นความแกร่งของการวิจัย Internal validity เป็นความแกร่งของการวิจัย

Internal validity เป็นความสามรถในการสรุปอ้างอิงหรือวางนัยทั่วไป (generalizability) ของผลการวิจัย หรือ ผลการวิจัยจะนำไปใช้ได้กว้างเพียงใด มี 2 ลักษณะ คือ population validity - ผลการวิจัยนำไปใช้กับประชากรใดได้เพียงใด ecological validity – ผลการวิจัยจะนำไปใช้ได้หรือเป็นจริงได้ ในสถานการณ์ใด เพียงใด

ข้อควรพิจารณา การวิจัยเชิงปริมาณ ถ้าหากขาดการควบคุมคุณภาพพื้นฐานของข้อมูล เช่น ความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้ของข้อมูล ถึงแม้จะใช้สถิติชั้นสูงเพียงใด ก็เปรียบได้กับการเอาขยะเข้าไปในคอมพิวเตอร์และย่อยออกมาเป็นขยะ (garbage in – garbage out)

แบบการวิจัยที่ดี : สมดุลระหว่าง ความแกร่ง กับ ความสมเหตุสมผล ใช้หลักการทางทฤษฎีเป็นพื้นฐานการวิจัย แต่อาจไม่ยึด ติดกับระเบียบวิธีแบบเดิมจนเกินไป จนกลายเป็น ข้อจำกัดในการใช้รูปแบบการวิจัย