YOUR SUBTITLE GOES HERE การกระทำทางปกครอง YOUR SUBTITLE GOES HERE
การกระทำทางปกครอง เป็นการกระทำของรัฐที่มิใช่การกระทำทางนิติบัญญัติหรือทางตุลาการ แต่เป็นการใช้อำนาจในฝ่ายบริหาร ซึ่งมีทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายปฏิบัติการ ซึ่งเป็นฝ่ายปกครองโดยแท้ กระทำการที่มีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ
รูปแบบของการกระทำทางปกครอง 1.การปฏิบัติการทางปกครอง(Administrative real act) เป็นการกระทำตามอำนาจหน้าที่
คำสั่งทางปกครอง : การใช้อำนาจกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลต่อการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น : การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุธรณ์ การรับรองและการจดทะเบียน
องค์ประกอบคำสั่งทางปกครอง 1. เป็นคำสั่ง คำวินิจฉัย รวมทั้งมาตรการต่างๆ 2. มีอำนาจในการออกคำสั่ง
3.ในคำสั่ง ต้องมีเนื้อหาให้ผู้รับคำสั่งกระทำการหรืองดเว้นการกระทำเป็นการชัดแจ้ง 4.เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ออกโดยรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
5. การสั่งต้องมีลักษณะของการใช้อำนาจทางปกครอง เช่น มหาวิทยาลัยอนุมัติปริญญาบัตรแก่นิสิตที่จบหลักสูตร
6.เป็นการกระทำที่ไปกระทบสิทธิหรือหน้าที่ของประชาชนหรือบุคคลใด
สัญญาทางปกครอง หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทำแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทำบริการสาธารณะ หรือ จัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทสัญญาทางปกครอง 1.สัญญาสัมปทาน : รัฐตกลงอนุญาตให้เอกชนลงทุนในกิจการด้านสาธารณูปโภค
ประเภทสัญญาทางปกครอง 2.สัญญาให้จัดทำบริการสาธารณ : สัญญาที่ให้เอกชนเข้าทำภารกิจ ซึ่งโดยปกติอยู่ในอำนาจของรัฐโดยตรง เช่น สัญญาให้เอกชนกำจัดขยะ
ประเภทสัญญาทางปกครอง 3.สัญญาให้จัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค เช่น ให้เอกชนก่อสร้างปรับปรุงโรงพยาบาล ก่อสร้างวางท่อประปา
ประเภทสัญญาทางปกครอง 4.สัญญาให้ให้แสวงผลประโยชน์จากทรัพยากร : รัฐญอนุญาตหรือยินยอมให้เอกชนแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
ความแตกต่างระหว่างสัญญาทางปกครองกับสัญญาทางแห่ง
1.สัญญาทางแพ่งยึดหลักสัญญาต้องเป็นสัญญา เปลี่ยนแปลงโดยไม่ยินยอมไม่ได้ สัญญาทางปกครอง ฝ่ายปกครองสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อสัญญาได้เพื่อประโยชน์สาธารณ
2.สัญญาทางปกครองที่รัฐทำกับเอกชน หากมีกรณีเร่งด่วน รัฐสามารถบังคับคดีได้ทันทีโดยไม่ต้องฟ้องต่อศาล
3.สัญญาทางปกครองนำหลักการของสัญญาทางแพ่งมาใช้โดยอนุโลม ในกรณีที่ยังไม่มีการสร้างหลักสัญญาทางปกครองขึ้นมาโดยตรง
4.สัญญาทางปกครองต้องทำเป็นหนังสือ สัญญาทางแพ่งอาจเป็นหนังสือหรือตกลงด้วยวาจาก็ได้
หลักการ แบ่งแยกอำนาจ
ระบบการใช้อำนาจอธิปไตย 1.ระบบสมัชชา 2. ระบบประธานาธิบดี 3. ระบบรัฐสภา
ระบบสมัชชา ใช้อำนาจอธิปไตยกระทำทางนิติบัญญัติและทางการบริหารรวมศูนย์อยู่ที่องค์กรเดียว โดยรัฐสภา
ระบบประธานาธิบดี แบ่งการใช้อำนาจอธิปไตยกระทำนิติบัญญัติ และ อำนาจอธิปไตยในการบริหารออกจากันอย่างเคร่งครัด
ระบบรัฐสภา แบ่งการใช้อำนาจอธิปไตยกระทำทางนิติบัญญัติและทางการบริหารออกจากกันไม่เคร่งครัด เป็นลักษณะการถ่วงดุลอำนาจ
ความสำคัญของการแบ่งแยกอำนาจ 1.เป็นที่มาของการแบ่งแยกองค์กรการใช้อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ ออกจากกันแต่ไม่เด็ดขาด
2.หลักการแบ่งแยกอำนาจมิได้ห้ามมิให้องค์กรที่ใช้อำนาจใช้อำนาจขององค์กรฝ่ายอื่นได้
3.การแบ่งแยกอำนาจมิได้หมายความว่า อำนาจทั้งสามจะต้องมีอำนาจเท่าเทียมกัน อำนาจใดอำนาจหนึ่งอาจอยู่เหนืออำนาจหนึ่งได้ แต่ไม่เด็ดขาด
4.หลักการแบ่งแยกอำนาจเน้นการคานและถ่วงดุลการใช้อำนาจเพื่อมิให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอำนาจเด็ดขาดปราศจาการควบคุม
องค์กรผู้ใช้อำนาจนิติ การกระทำของฝ่ายปกครอง อำนาจอธิปไตย องค์กรผู้ใช้อำนาจ ตุลาการ ตุลาการ(ศาล) การกระทำทาง องค์กรผู้ใช้อำนาจนิติ บัญญัติ องค์กรผู้ใช้อำนาจ การบริหาร วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร ฝ่ายปกครอง การกระทำของฝ่ายปกครอง การกระทำ ทางนิติบัญญัติ
your topic goes here YOUR SUBTOPICS GO HERE
your topic goes here YOUR SUBTOPICS GO HERE
transitional page
elements WWW.ANIMATIONFACTORY.COM