สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
สื่อบทเรียน multipoint
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การแยกตัวประกอบพหุนาม
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การคูณและการหารเอกนาม
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง โทร. 075-296030 โทรสาร 075-296040

สมการกำลังสอง

- การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 และ b ≠ 0 - การหาคำตอบของสมการกำลังสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx+c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัวที่ a ≠ 0 และ c ≠ 0

1.การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวในรูปAx2 + bx + c เมื่อ a, b, cเป็นค่าคงตัวที่ a = 0 และ c = 0 เพื่อความสะดวก เราจะเรียก ax2 ว่าพจน์หน้า bx ว่าพจน์กลาง และ c ว่าพจน์หลัง 2.การแยกตัวประกอบของพหุนามในรูป ax2 + bx + c เมื่อA, b, c เป็นค่าคงตัวที่ a ≠ 0 และ c ≠ 0 ทำได้ดังนี้ 2.1พหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่คูณกันแล้วได้พจน์หน้าเขียนสองพหุนามนั้นเป็นพจน์หน้า ของพหุนามสองพหุนาม 2.2หาจำนวนสองจำนวนที่คูณกันแล้วได้พจน์หลังเขียนจำนวนทั้งสองเป็นพจน์หลังของพหุนามในข้อที่ 2.1 3.หาพจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพท์จากผลคูณของพหุนาม แต่ละคู่ในข้อ 2.2

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 2x2 - x - 21 วิธีทำ 2x2 แยกได้เป็น 2x x x -1 แยกได้เป็น -7 x 3 ทดลองจับคู่คูณกัน ( 2x - 7)(x + 3) -7x รวมได้ -x (พจน์กลาง) +6x นั้นคือ 2x2 - x -21 = ( 2x - 7)( x + 3)

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 3x2 - 2x - 5 วิธีทำ 3x2 แยกได้เป็น 3x x x -5 ร่วมแล้วได้-2x (พจน์กลาง) +3x นั้นคือ 3x2 - 2x - 5 =( 3x -5)( 3x+1)

แบบฝึกหัด การแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1.9x2 – 48 x +64 2.16x2 + 72x + 81 3. 25x2+30x +9 4.36x2 -24x +4

แบบฝึกหัด การแยกตัวประกอบของ พหุนามต่อไปนี้ 1.9x2 – 48 x +64 = (3x - 8)(3x- 8) 2.16x2 + 72x + 81 = (4x + 9)(4x+ 9) 3. 25x2+30x +9 = (5x + 3)(5x+ 3) 4.36x2 -24x +4 = (6x-2)(6x-2)

สวัสดี