Introduction to Cache Memory Systems

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 ส่วนพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ คือ ซอฟแวร์ และ ฮาร์ดแวร์  ซอฟแวร์จะเกี่ยวข้องกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์ซึ่งมีโปรแกรมหลักเรียกว่า ซอฟแวร์ระบบ และระบบปฎิบัติการที่สัมพันธ์
Advertisements

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Introduction to C Introduction to C.
Process Synchronization
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
Chapter 1 Introduction to Information Technology
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Central Processing Unit
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Management Information System of Air Conditioner Store
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Memory Internal Memory and External Memory
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
หน่วยความจำเสมือน Virtual Memory.
โครงสร้างการทำงานของ OS
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Functional components of a computer
นายพิสัณห์ ดวงจันทร์ รหัส
Chapter 2 Database systems Architecture
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
Memory Management ในยุคก่อน
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์ข้อมูล.
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
การทำงานของคอมพิวเตอร์
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
DMC 2/2014. ข้อมูลที่โรงเรียนต้องดำเนินการปรับปรุง ในภาคเรียนที่ 2/ ข้อมูลพื้นฐาน ( กรณีโรงเรียนเปลี่ยน ผู้บริหาร / แก้ไขข้อมูลพื้นฐานอื่นๆ ) 2.
A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE
Chapter 4 Cache Memory Computer Memory System Overview
… Cache …L1,L2.
Platform Technology หน่วยความจำแคช Cache memory
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Data Structure and Algorithms
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Integrated Network Card
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Latency เวลาทำงานโดยนับจากเริ่มขอข้อมูล จนถึงได้รับข้อมูล bit แรก.
บทที่ 3 การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Cache Memory Systems โดย นายอธิกร สิงห์เอี่ยม รหัส 4422070

Memory Hierarchies Cache เป็นระบบหน่วยความจำความเร็วสูง ที่เก็บข้อมูลบางส่วนของ Main Memory ในทางกายภาพแล้ว Cache จะอยู่ตรงกลางระหว่าง Main Memory กับ CPU เพราะว่า Cache มีความเร็วสูงกว่า Main Memory ทำให้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของระบบ ถ้าใช้ Cache ในการเก็บคำสั่ง (Instruction) และ ข้อมูล (Data) ที่มีการใช้อยู่บ่อยใน Cache ซึ่งทำให้ CPU เข้ามาเรียกใช้งานได้เร็วขึ้น Cache จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานของระบบ โดยใช้หลักการที่เรียกว่า Locality of reference

หลักการ Locality of reference จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภทได้แก่ Temporal และ Spatial Cache ที่มีความเร็วสูงจะเป็นตัวที่ทำให้ความแตกต่างระหว่างความเร็วของ CPU และ Main Memory ลดลง และหลักการของ Locality of reference จะถูกนำมาประยุกต์ใช้กับส่วนต่างๆ ในระบบ Memory

Cache Fundamentals อาจจะถูกรวมไว้กับ Microprocessor และ Memory Management Unit (MMU) ก็ได้ในปัจจุบัน หรือตัว Cache ก็จะถูกวางไว้บน CPU Board เราเรียก Cache ประเภทนี้ว่า External Cache ในบางระบบอาจจะมีการแยกใช้ Cache กันระหว่าง คำสั่ง และ ข้อมูล การที่ใช้แบบนี้จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพราะตอนที่ CPU กำลังดึงคำสั่งที่อยู่ใน Cache คำสั่ง (Instruction Cache) ก็จำทำการเรียกใช้หรือบันทึกข้อมูลลงใน Cache ข้อมูล (Data Cache)

How a Cache Is Accessed (1) Cache จะทำการเก็บส่วนเล็กๆของ Main Memory ส่วนของ Memory ที่อยู่ใน Cache จะเรียกว่า Cached โดยใช้ป้ายหรือสัญลักษณ์ (Tag) ที่บอกว่า ข้อมูลใน Cache นั้น มีเลขที่หน่วยความจำใดใน Main Memory หากพบข้อมูลใน Cache จะเรียกว่า Cache hit แต่หากไม่พบก็จะเรียกว่า Cache miss อัตราในการที่จะเกิด Cache hit กับ Cache miss นั้นเราจะเรียกว่า Hit ratio การที่มี Hit Ratio สูงนั้น จะแสดงให้เห็นว่าระบบมีประสิทธิภาพในการทำงานสูง

How a Cache Is Accessed (2) หากไม่เจอข้อมูลใน Cache เลขที่หน่วยความจำนั้นก็จะถูกส่งต่อไปใน Main Memory เพื่อทำการหาข้อมูลที่อยู่ที่เลขที่หน่วยความจำนั้น ข้อมูลนั้นก็จะถูกเก็บต่อใน Cache เพื่อให้สะดวกในกรณีที่เกิด Temporal locality สำหรับข้อมูลที่อยู่รอบๆ ข้อมูล ที่ CPU ทำการดึงมานั้นก็จะถูกเก็บไว้ใน Cache เพื่อให้เกิดความสะดวกในกรณีที่เกิด Spatial locality ใน Tag จะมีข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการควบคุม Valid bit จะเป็นตัวบอกว่าใน Cache Block นั้นเก็บข้อมูลที่ถูกเรียกใช้ข้อมูล และเก็บข้อมูลที่ถูกต้อง เรียกว่า Modify bit จะถูก Set ค่าเมื่อ CPU เก็บข้อมูลลงใน Cache ด้วยใช้วิธีการ Write-Back

Virtual or Physical Address Cache สามารถถูกออกแบบในเรื่องการเข้าถึงด้วยการใช้ Virtual หรือ Physical Address ของข้อมูล หรือคำสั่ง Tag จะถูกออกแบบมาให้เก็บทั้ง Virtual หรือ Physical address กับข้อมูลอื่นๆ การที่จะเลือกว่าจะใช้ Virtual หรือ Physical นั้นจะถูกกำหนดเมื่อ Hardware ได้ถูกออกแบบ และมีการเลือกว่าใช้เทคโนโลยี Cache แบบไหน

Searching the Cache การค้นหาข้อมูลใน Cache จะต้องรวดเร็ว เพราะวัตถุประสงค์ในการใช้ Cache คือมีการส่งข้อมูลคืนมาที่รวดเร็วกว่า Main Memory เลขที่หน่วยความจำที่ได้มานั้นเมื่อถูก Hash แล้วจะได้เป็น Index สำหรับ 1 หรือหลายที่ใน Cache ในการใช้อัลกอริทึมของ Hash ต่างๆ อาจให้ Index ที่เหมือนกันได้ในหลาย เลขที่หน่วยความจำ ดังนั้นต้องใช้ Tag ในการเปรียบเทียบว่า ที่ Block นั้นเก็บข้อมูลเลขที่เดียวกับที่ CPU ต้องการหรือเปล่า หากเหมือนกันก็แสดงว่าเกิด Hit แต่หากไม่เหมือนกันก็จะเกิด Miss