1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สังคมศึกษา.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ประเภทลัทธิทางการเมือง
สัปดาห์ที่ 4.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
Preparation for Democratic Citizen
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันการเมืองการปกครอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดพื้นฐานของอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่เห็นว่ามีความสำคัญขั้นพื้นฐานมากที่สุด มา 7 ประการ

1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation

5. Majority Rule 6. Open and Accountable Government 7.Public Interest

ประชาธิปไตยแบบสหรัฐอเมริกา ประกาศเอกราชเมื่อ 4 ก.ค. 1776 อุดมการณ์ประชาธิปไตย

เป็นระบบการเมืองของสังคมที่มีวิถีชีวิตและค่านิยมรักอิสระเสรีภาพอย่างมีความรับผิดชอบตามกรอบแห่งกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ของสังคมที่สมาชิกช่วยกันบัญญัติขึ้นไว้เพื่อสวัสดิภาพส่วนรวม

การบัญญัติหลักการสำคัญ 2 อย่างคือ 1.คำประกาศอิสรภาพ “เราถือมั่นว่าความจริงเหล่านี้เป็นสัจธรรมที่ประจักษ์ชัดในตัวเองคือสัจธรรมที่ว่ามนุษย์ทุกคนได้ถูกสร้างขึ้นมาเท่าเทียมกันที่ว่าทุกคนได้รับมอบจากพระผู้สร้างให้มีสิทธิบางประการที่ไม่สามารถจะถูกเพิกถอนออกไปได้ ได้แก่ สิทธิในชีวิต ในเสรีภาพ และในการแสวงหาความสุข”

2.คำนำของ รธน. อเมริกา “พวกเราประชาชนแห่งอเมริกา เพื่อจะจัดตั้งสหภาพที่สมบูรณ์ซึ่งจะสถาปนาความยุติธรรมจะประกันความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ จะเตรียมการป้องกันประเทศร่วมกันจะส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปและเพื่อจะได้มีโอกาสชื่นชมเสรีภาพสำหรับพวกเราเองและลูกหลานในอนาคต”

อุดมการณ์ประชาธิปไตยของชาวอเมริกัน 1. หลักความเสมอภาคของมนุษย์ ความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย ความเสมอในโอกาส

2. มนุษย์มีสิทธิเสรีภาพบางประการที่จะถูกเพิกถอนหรือละเมิดไม่ได้ ฝ่ายประชาธิปไตย ฝ่ายอำนาจนิยม

3.สิทธิเสรีภาพสำคัญบางอย่างที่รัฐจะละเมิดมิได้ สิทธิในชีวิตถือว่าสิทธิสำคัญที่สุด สิทธิในเสรีภาพ สิทธิในการแสวงหาความสุขในแนวทางของแต่ละคน

4.มีรัฐบาลโดยความยินยอมของประชาชน รัฐบาลต้องรับใช้ประชาชนคือต้องค้ำประกันสิทธิเสรีภาพให้ประชาชนเพราะถ้าคนอยู่ตามลำพังก็มีอันตรายจากภัยนานาประการ

5.ประชาชนมีสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลงหรือทำลายล้างรัฐบาลที่ไม่รักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน “เพื่อจะตั้งรัฐบาลใหม่ขึ้นมาธำรงรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างความปลอดภัยและความสุขของประชาชน”

6.รัฐบาลประชาธิปไตยจะมีอำนาจจำกัด 1.รัฐบาลมีอำนาจหน้าที่จำกัด สร้างความยุติธรรมให้เกิดขึ้น ประกันความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ เตรียมการป้องกันประเทศร่วมกัน

2.การถ่วงดุลอำนาจและการจำแนกอำนาจ ส่งเสริมสวัสดิการทั่วไป ให้ประชาชนมีโอกาสได้ชื่นชมเสรีภาพ ของตนเองและลูกหลานในอนาคต 2.การถ่วงดุลอำนาจและการจำแนกอำนาจ มีกลไกตรวจสอบให้เกิดความสมดุลระหว่างอำนาจทั้งสาม

3.รัฐบาลต้องค้ำประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน บัญญัติห้ามมิให้รัฐบาลออกกฎหมายที่จะละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน บัญญัติให้รัฐบาลกระทำการในลักษณะที่ส่งเสริมคุ้มครองค้ำประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน

โครงสร้างของรัฐบาลอเมริกัน บัญญัติให้ประชาชนมีอำนาจที่จะป้องกันประเทศประชาธิปไตย โครงสร้างของรัฐบาลอเมริกัน 1.โครงสร้างสหพันธรัฐ-สหรัฐกับมลรัฐ

หลักการสำคัญได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ดังนี้ 1.รัฐบาลกลางยอมรับความสำคัญของมลรัฐในด้านนิติบัญญัติ 2.รัฐบาลมลรัฐทำหน้าที่ดำเนินการเลือกตั้งสู่ตำแหน่งต่างๆ ของรัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐเอง

3. รัฐบาลกลางมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุใน รธน 3.รัฐบาลกลางมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุใน รธน. และที่มิได้ห้ามให้เป็นอำนาจของมลรัฐ 4.รัฐบาลกลางไม่มีอำนาจหน้าที่ใดๆ ที่ไปจัดระบบการปกครองภายในมลรัฐต่างๆ 5.มลรัฐมีน้ำหนักในการออกเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีมากกว่าจำนวนประชากร

2. โครงสร้างของรัฐบาลกลางสหรัฐในภาพรวม 6.การแก้ไข รธน. ริเริ่มโดยรัฐสภาของสหรัฐหรือโดยสภาของมลรัฐ 2. โครงสร้างของรัฐบาลกลางสหรัฐในภาพรวม อำนาจทั้งสามมีการถ่วงและคานอำนาจกันผ่านกลไก ดังนี้ 1. ประชาชนเป็นผู้เลือก

2.อำนาจแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งต่างๆ 2.1 ประธานาธิบดีเป็นผู้มีอำนาจเสนอชื่อบุคคล 2.2 วุฒิสภายืนยันการแต่งตั้ง 2.3 ประธานาธิบดีลงนามแต่งตั้ง

การเมืองไทยเป็นเรื่องของใคร และมีความเกี่ยวข้องกับการเมืองของสหรัฐอเมริกาอย่างไรเพราะเหตุใด อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ งานกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ส่งในห้องเรียน ครับ 11 ธ.ค.55