แนวคิดพื้นฐานของอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่เห็นว่ามีความสำคัญขั้นพื้นฐานมากที่สุด มา 7 ประการ
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation
5. Majority Rule 6. Open and Accountable Government 7.Public Interest
ประชาธิปไตยแบบสหรัฐอเมริกา ประกาศเอกราชเมื่อ 4 ก.ค. 1776 อุดมการณ์ประชาธิปไตย
เป็นระบบการเมืองของสังคมที่มีวิถีชีวิตและค่านิยมรักอิสระเสรีภาพอย่างมีความรับผิดชอบตามกรอบแห่งกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ของสังคมที่สมาชิกช่วยกันบัญญัติขึ้นไว้เพื่อสวัสดิภาพส่วนรวม
การบัญญัติหลักการสำคัญ 2 อย่างคือ 1.คำประกาศอิสรภาพ “เราถือมั่นว่าความจริงเหล่านี้เป็นสัจธรรมที่ประจักษ์ชัดในตัวเองคือสัจธรรมที่ว่ามนุษย์ทุกคนได้ถูกสร้างขึ้นมาเท่าเทียมกันที่ว่าทุกคนได้รับมอบจากพระผู้สร้างให้มีสิทธิบางประการที่ไม่สามารถจะถูกเพิกถอนออกไปได้ ได้แก่ สิทธิในชีวิต ในเสรีภาพ และในการแสวงหาความสุข”
2.คำนำของ รธน. อเมริกา “พวกเราประชาชนแห่งอเมริกา เพื่อจะจัดตั้งสหภาพที่สมบูรณ์ซึ่งจะสถาปนาความยุติธรรมจะประกันความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ จะเตรียมการป้องกันประเทศร่วมกันจะส่งเสริมสวัสดิการทั่วไปและเพื่อจะได้มีโอกาสชื่นชมเสรีภาพสำหรับพวกเราเองและลูกหลานในอนาคต”
อุดมการณ์ประชาธิปไตยของชาวอเมริกัน 1. หลักความเสมอภาคของมนุษย์ ความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย ความเสมอในโอกาส
2. มนุษย์มีสิทธิเสรีภาพบางประการที่จะถูกเพิกถอนหรือละเมิดไม่ได้ ฝ่ายประชาธิปไตย ฝ่ายอำนาจนิยม
3.สิทธิเสรีภาพสำคัญบางอย่างที่รัฐจะละเมิดมิได้ สิทธิในชีวิตถือว่าสิทธิสำคัญที่สุด สิทธิในเสรีภาพ สิทธิในการแสวงหาความสุขในแนวทางของแต่ละคน
4.มีรัฐบาลโดยความยินยอมของประชาชน รัฐบาลต้องรับใช้ประชาชนคือต้องค้ำประกันสิทธิเสรีภาพให้ประชาชนเพราะถ้าคนอยู่ตามลำพังก็มีอันตรายจากภัยนานาประการ
5.ประชาชนมีสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลงหรือทำลายล้างรัฐบาลที่ไม่รักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชน “เพื่อจะตั้งรัฐบาลใหม่ขึ้นมาธำรงรักษาสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างความปลอดภัยและความสุขของประชาชน”
6.รัฐบาลประชาธิปไตยจะมีอำนาจจำกัด 1.รัฐบาลมีอำนาจหน้าที่จำกัด สร้างความยุติธรรมให้เกิดขึ้น ประกันความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ เตรียมการป้องกันประเทศร่วมกัน
2.การถ่วงดุลอำนาจและการจำแนกอำนาจ ส่งเสริมสวัสดิการทั่วไป ให้ประชาชนมีโอกาสได้ชื่นชมเสรีภาพ ของตนเองและลูกหลานในอนาคต 2.การถ่วงดุลอำนาจและการจำแนกอำนาจ มีกลไกตรวจสอบให้เกิดความสมดุลระหว่างอำนาจทั้งสาม
3.รัฐบาลต้องค้ำประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน บัญญัติห้ามมิให้รัฐบาลออกกฎหมายที่จะละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน บัญญัติให้รัฐบาลกระทำการในลักษณะที่ส่งเสริมคุ้มครองค้ำประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน
โครงสร้างของรัฐบาลอเมริกัน บัญญัติให้ประชาชนมีอำนาจที่จะป้องกันประเทศประชาธิปไตย โครงสร้างของรัฐบาลอเมริกัน 1.โครงสร้างสหพันธรัฐ-สหรัฐกับมลรัฐ
หลักการสำคัญได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ดังนี้ 1.รัฐบาลกลางยอมรับความสำคัญของมลรัฐในด้านนิติบัญญัติ 2.รัฐบาลมลรัฐทำหน้าที่ดำเนินการเลือกตั้งสู่ตำแหน่งต่างๆ ของรัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐเอง
3. รัฐบาลกลางมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุใน รธน 3.รัฐบาลกลางมีอำนาจหน้าที่ตามที่ระบุใน รธน. และที่มิได้ห้ามให้เป็นอำนาจของมลรัฐ 4.รัฐบาลกลางไม่มีอำนาจหน้าที่ใดๆ ที่ไปจัดระบบการปกครองภายในมลรัฐต่างๆ 5.มลรัฐมีน้ำหนักในการออกเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีมากกว่าจำนวนประชากร
2. โครงสร้างของรัฐบาลกลางสหรัฐในภาพรวม 6.การแก้ไข รธน. ริเริ่มโดยรัฐสภาของสหรัฐหรือโดยสภาของมลรัฐ 2. โครงสร้างของรัฐบาลกลางสหรัฐในภาพรวม อำนาจทั้งสามมีการถ่วงและคานอำนาจกันผ่านกลไก ดังนี้ 1. ประชาชนเป็นผู้เลือก
2.อำนาจแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งต่างๆ 2.1 ประธานาธิบดีเป็นผู้มีอำนาจเสนอชื่อบุคคล 2.2 วุฒิสภายืนยันการแต่งตั้ง 2.3 ประธานาธิบดีลงนามแต่งตั้ง
การเมืองไทยเป็นเรื่องของใคร และมีความเกี่ยวข้องกับการเมืองของสหรัฐอเมริกาอย่างไรเพราะเหตุใด อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ งานกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ส่งในห้องเรียน ครับ 11 ธ.ค.55