ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Advertisements

ลอจิกเกต (Logic Gate).
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Functional Programming
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ประพจน์ และค่าความจริง
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การคิดและการตัดสินใจ
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (6) ทรี-ต้นไม้(Trees)
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
Operators ตัวดำเนินการ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
โครงสร้างข้อมูล Queues
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
CHAPTER 2 Operators.
Introduction to Computer Organization and Architecture Physical Representation บทที่ 2 การแทนเชิง กายภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept. MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (7) คณิตศาสตร์บลูลีน & วงจรผสม (Boolean & Combinatorial Circuit) ดร.ธนา สุขวารี ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพีชคณิตบูลลีน ประยุกต์หลักการคณิตศาสตร์เชิงตรรก พีชคณิตบูลลีนกับการทำงานวงจรตรรก วงจรผสมและการลดรูปวงจรผสม

พีชคณิตบูลลีน การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้า วงจรเหล่านี้ประกอบด้วยชิ้นส่วนที่รับข้อมูลเข้า และส่งข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ออก โดยข้อมูลเหล่านี้แทนด้วย 2 สถานะ คือ 0 หรือ 1 พีชคณิตบูลลีน แสดงนิพจน์โดยอาศัยหลักการทางตรรกศาสตร์ ที่สอดคล้องกับการทำงานของวงจรตรรก สามารถตรวจสอบการทำงานของวงจรตรรกได้ โดยแปลงวงจรตรรกให้อยู่ในรูปนิพจน์บูลลีน

วงจรตรรก VS. พีชคณิตบูลลีน F T A^B B A AND AVB OR ~A NOT วงจรตรรก ตรรกะ พีชคณิตบูลลีน

พีชคณิตบูลลีน พีชคณิตบูลลีน S ประกอบด้วยเซต S = {0, 1} ตัวดำเนินการทวิภาค + และ * บน S และตัวดำเนินการเดี่ยว ' บน S ซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้ สำหรับทุก กฎการเปลี่ยนกลุ่ม (Associative laws) (x + y) + z = x + (y + z), 2. กฎการสลับที่ (Commutative laws) x + y = y + x 3. กฎการแจกแจง (Distributive laws) 4. กฎของเอกลักษณ์ (Identity laws) x + 0 = x 5. กฎส่วนเติมเต็ม (Complement laws) x + x' = 1 ถ้า S เป็นพีชคณิตบูลลีน เราเขียน S แทน (S: +,*,')

ตัวดำเนินการบูลลีน นิพจน์บูลลีนใช้ตัวดำเนินการพื้นฐาน 3 ตัวดำเนินการ คือ “+” “ * ” และ “ ' ” ตรงกับตัวเชื่อมในทางตรรกศาสตร์ “OR ” “AND ” และ “~” ตามลำดับ เปลี่ยนนิพจน์บูลลีนเป็นวงจรลอจิกหรือวงจรตรรกะ ตัวเชื่อม +, *, ~ จะตรงกับประตูสัญญาณออร์ (OR gate) ประตูสัญญาณแอนด์ (AND gate) และประตูสัญญาณน็อต (NOT gate) หรือ ตัวแปลง (Inverter) ตามลำดับ

ตัวดำเนินการบูลลีน VS. logical gates

ตัวดำเนินการบูลลีน VS. logical gates NAND table ?

3-input AND gate ตัวอย่าง1: จงหาค่าของฟังก์ชันบูลลีน พร้อมวาดรูปวงจรตรรกะ

3-input logical gate ตัวอย่าง2: ถ้าค่าที่เข้ามามี 3 ค่า คือ A, B, C จงวาดรูปวงจรตรรกะของ X= ((A+B+C)')'

วงจรผสม วงจรตรรกะของระบบดิจิตอลได้นำประตูสัญญาณพื้นฐาน 3 ประตู คือ ประตูสัญญาณออร์ ประตูสัญญาณแอนด์และประตูสัญญาณน็อตมาเชื่อมต่อกัน ซึ่งทำให้วงจรตรรกะมีความซับซ้อนมากขึ้นเรียนว่า วงจรผสม (combinatorial circuit) ถ้าเราต้องการลดความซับซ้อนของวงจรตรรกะจะเปลี่ยนวงจรดังกล่าวให้อยู่ในรูปนิพจน์บูลลีน แล้วใช้ทฤษฎีบททางพีชคณิตบูลลีนลดรูปให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน ตัวอย่าง 3: วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน

วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน ตัวอย่าง 4: วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน

วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน ตัวอย่าง 5: จงหาวงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกันของนิพจน์ X = A'BC (A+D)' ให้ A = 0, B = 1, C = 1 และ D = 1 วงจรที่สมนัย ?

วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน ตัวอย่าง 6: จงเขียนแผนภาพวงจรตรรกะของนิพจน์บูลลีน พร้อมทั้งหาผลลัพธ์เมื่อกำหนดให้A = 0, B = 1, C = 1 และ D = 1 วงจรที่สมนัย ?

วงจรตรรกะและนิพจน์บูลลีนที่สมนัยกัน ตัวอย่าง 7: จงเขียนแผนภาพวงจรตรรกะของนิพจน์บูลลีน พร้อมทั้งหาผลลัพธ์เมื่อกำหนดให้A = 0, B = 1, C = 1 และ D = 1

Quiz จงเขียนแผนภาพวงจรตรรกะของนิพจน์บูลลีน

ทฤษฎีบทของพีชคณิตบูลลีน

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน ตัวอย่าง 8:

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน ตัวอย่าง 9: x(y+z) = xy+xz

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน โดยใช้ทฤษฎีบทของพีชคณิตบูล ตัวอย่าง 10: (w+x) (y+z) = wy+xy+wz+xz)

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน ตัวอย่าง11: จากนิพจน์บูลลีนจงเขียนวงจรตรรกที่สอดคล้องกับนิพจน์ทางซ้ายและนิพจน์ทางขวา (w+x) (y+z) = wy+xy+wz+xz) วงจรใดใช้จำนวน gate น้อยกว่ากัน ?

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน โดยใช้ทฤษฎีบทของพีชคณิตบูล ตัวอย่าง 12: [(A’+C) (B+D’)]’ = (AC’ + B’D)

การลดรูปพีชคณิตบูลลีน โดยใช้ทฤษฎีบทของพีชคณิตบูล ตัวอย่าง 13: จากนิพจน์บูลลีนจงเขียนวงจรตรรกที่สอดคล้องกับนิพจน์ทางซ้ายและนิพจน์ทางขวา [(A’+C) (B+D’)]’ = (AC’ + B’D) วงจรใดใช้จำนวน gate น้อยกว่ากัน ?

แบบฝึกหัดท้ายบท [1] จงแสดงวงจรผสมที่สอดคล้องกับพีชคณิตบูลลีนที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 1.1 ABC + AC΄ + AB 1.2 (A+B)C + (A+B)C 1.3 (AB + AC + AD)΄ [2] เมื่อกำหนดให้ A=0, B=1, C=0 และ D=0 จงแสดงการหาค่าผลลัพธ์ของพีชคณิตบูลลีนในข้อที่ 2 [3] จงวาดรูปแผนภาพวงจรอย่างง่ายที่มีจำนวนประตูสัญญาณน้อยที่สุด ที่ให้สอดคล้องกับนิพจน์บูลลีน AB+BC(B+C)