ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
Advertisements

กฎหมายมรดก.
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
วิชาว่าความและ การถามพยาน
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
หนังสือทางวิชาการ โดย อ.ว่าที่ร.ต.เศรษฐ์ อินสกุล
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ทะเบียนครอบครัว โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
พระราชบัญญัติการโฆษณา
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
โรงงานผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง/ยางแผ่นรมควันสร้างขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อ.ส.พ.)
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
องค์การตลาด พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
องค์การสวนสัตว์ (อสส.)
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม.
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดอัตราผลประโยชน์ตอบแทนเงินบำเหน็จชราภาพของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ประจำปี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2.
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
การตราข้อบัญญัติ (อบต.)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
กฎหมายแพ่งว่าด้วยหนี้ (Law of Obligations)
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่.
บทที่ 1 บุคคล.
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
PRT บริษัท ภูรีภาค จำกัด “แก่นแท้ของ พรบ. คุ้มครองแรงงานที่ควรรู้”
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
สวัสดิการการรักษาพยาบาล
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนกรณีคลอด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน

ที่มาของปัญหา ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาตามบันทึกเลขเสร็จ 100/2543 ให้ความเห็นว่า “หญิงซึ่งเป็นผู้ตั้งครรภ์แทนและคลอดทารกจึงเป็นมารดาที่ชอบด้วยกฎหมายของทารก” โดนอ้าง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย

ประเด็นที่จะต้องทำการพิจารณา 1. สัญญารับจ้างตั้งครรภ์มีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม่ 2. บุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของใคร

1. สัญญารับจ้างตั้งครรภ์มีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม่ มีกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้องดังนี้ 1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 “การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ”

ประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศส มาตรา 16-7 บัญญัติว่า “ข้อตกลงใดๆ ในการให้กำเนิดหรือการตั้งครรภ์สำหรับผู้อื่นตกเป็นโมฆะ” Art.16-7 All agreements relating to procreation or gestation on account of a third party are void.

ปัจจุบันมีร่างพระราชบัญญัติการตั้งครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ มาตรา 18 บัญญัติให้มีการตั้งครรภ์แทนได้ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย

2.บุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของใคร

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 “เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้สมรสกับชาย ให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น”

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 “ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้นและภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรคสอง แต่ลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดังต่อไปนี้ (1) ผู้สืบสันดาน .......

คณะกรรมการแห่งยุโรป (European Commission)ได้เห็นชอบต่อรายงานข้อเสนอแนะชื่อ “Principles set out in the report of the Ad Hoc Committee of Experts on Progress in the Biomedical Sciences (CAHBI)”(1989) อันมีหลักการที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์แทน ในข้อที่ 15 “ถือว่าหญิงที่ให้กำเนิดย่อมเป็นมารดาตามกฎหมายของเด็ก”

ปัจจุบันมีร่างพระราชบัญญัติการตั้งครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ มาตรา 24 บัญญัติให้การตั้งครรภแทนที่ชอบด้วยกฎหมายถือว่าเด็กเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของสามีภริยาที่ประสงค์จะให้มีการตั้งครรภ์แทน มาตราที่ 25 บัญญัติให้การตั้งครรภ์แทนที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของชาย หญิงที่ตั้งครรภ์แทน