เงินเฟ้อ และเงินฝืด
เงินเฟ้อ (Inflation) ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้า โดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น
ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น (รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่) รายได้ที่แท้จริงลดลง อำนาจซื้อลดลง ภาวะเงินเฟ้อ
เลขดัชนีราคา ตัวเลขที่แสดงระดับราคาสินค้าของปีใดปีหนึ่งเมื่อเทียบกับระดับราคาของปีฐาน โดยให้ระดับราคาของปีฐานเท่ากับ 100 ดัชนีราคาขายปลีก หรือดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI) ดัชนีราคาผู้ผลิต (Producer Price Index) ดัชนีราคาขายส่ง (Wholesale Price Index)
ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) การวัดอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI
ถ้า ปี 2541 มี CPI เท่ากับ 127. 8 และ ปี 2542 มี CPI เท่ากับ 128 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100 = 0.31 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2542
อัตราเงินเฟ้อ ปี 2542 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2542 CPI42 - CPI41 = CPI41 x 100 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n CPIn - CPIn - 1 = CPIn - 1 x 100
สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน (Cost - Push Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและ อุปทานมวลรวม (Mixed Inflation) กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) GDP = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น
AS AD5 AD4 AD3 AD2 AD1 Qf P Q AS = Aggregate Supply P1 P2 P3 P4 P5 AS AS = Aggregate Supply P1 P2 P3 P4 P5 AD1 AD2 AD3 AD4 AD5 AD = Aggregate Demand Qf
สาเหตุที่อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน การเพิ่มขึ้นของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมของประเทศ
1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ
2. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน (Cost - Push Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด
P Q P1 P2 P3 AD AS AS1 AS2 AS3
สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า (Wage - Push Inflation) การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต (Profit - Push Inflation) การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และ วัตถุดิบต่างๆ
กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน แรงงาน สินค้าชนิดหนึ่ง กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคา (ค่าจ้าง) ที่ดุลยภาพ 1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า (Wage - Push Inflation)
Wage - Push Inflation (ต่อ) ถ้ามีการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงานคงเดิม อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม ต้นทุนเพิ่มขึ้น ลดปริมาณการผลิต ลดการจ้างงาน ไม่ลดการจ้างงาน แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น P เพิ่มขึ้น
2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต (Profit - Push Inflation) ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงกว่าเดิม ตั้งราคาสินค้าให้สูงขึ้น เงินเฟ้อ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และวัตถุดิบต่างๆ ราคาน้ำมันหรือราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น Supply ลด ราคาเพิ่มขึ้น
เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม ( Mixed demand cost Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานมวลรวมในขณะเดียวกัน
มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน มากขึ้น (G ) Aggregate Demand Aggregate Supply มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน มากขึ้น (G ) AD เพิ่ม โอเปคลดการผลิตน้ำมัน ราคาน้ำมันสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น AS ลด เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น P
เกิดเงินเฟ้อภายในประเทศ กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ มีเงินเฟ้อในต่างประเทศ เกิดเงินเฟ้อภายในประเทศ
ประเทศไทยมีสินค้าออกที่สำคัญคือ ข้าว กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ) ประเทศไทยมีสินค้าออกที่สำคัญคือ ข้าว ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้น ผู้ค้าข้าวได้รายได้เพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (สินค้าทั่วไป) AD เพิ่ม ราคาสินค้าโดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้น C
กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ) ประเทศ ก. ซื้อสินค้าจากประเทศ ข. ถ้าประเทศ ข. เกิดเงินเฟ้อ ราคาสินค้าส่งออกสูงขึ้น ประเทศ ก. : ราคาสินค้านำเข้า จาก ข. สูงขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ต้นทุนเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าใน ก. เพิ่มขึ้น ภาวะเงินเฟ้อ
กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ (ต่อ) กรณีต้องนำเข้าสินค้าทุนจากต่างประเทศ ถ้าราคาสินค้าทุนสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น AS ลด
ผลกระทบของเงินเฟ้อ กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ 1. ผลต่อการกระจายรายได้ กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ
กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ กลุ่มที่มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่ เพิ่มขึ้น ผู้ที่ทำสัญญาจ่ายเงินไว้แล้วเป็นระยะเวลานาน ผู้ที่ถือทรัพย์สินที่ราคาของทรัพย์สินนั้นสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเงินเฟ้อ
กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ ผู้ที่มีรายได้ประจำ เจ้าหนี้ที่ไม่สามารถปรับอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นได้ ผู้ให้เช่าที่สัญญาเช่าระยะยาว และไม่สามารถปรับ ค่าเช่าได้ ผู้ถือทรัพย์สินในรูปของเงินฝากธนาคาร ฯลฯ
ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ) 2. ผลต่อการออมและการลงทุนของประเทศ ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ถือสินทรัพย์อื่นแทนการฝากเงิน ประเทศขาดแคลนเงินออมเพื่อการลงทุนระยะยาว การลงทุนของประเทศลดลง
ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ) 3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล รายได้ รายได้ที่เป็นตัวเงิน ของประชาชนสูงขึ้น ภาษีอัตราก้าวหน้า มีการซื้อ - ขายสินค้าเพิ่มขึ้น ภาษีทางอ้อม เก็บภาษีได้ เพิ่มขึ้น
ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ) 3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล (ต่อ) รายจ่าย จ้างงานเพิ่มขึ้น รัฐจ่ายเงินประกันลดลง กรณีกู้เงิน จากการขายพันธบัตร เงินที่รัฐจ่ายคืน มีอำนาจซื้อลดลง + รายได้รัฐเพิ่มขึ้น รายจ่ายลดลง ชำระดอกเบี้ยได้ไม่ยาก ได้รับประโยชน์จากรายจ่ายคงที่
ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ) 4. ผลกระทบต่อการค้าต่างประเทศ ราคาสินค้า ในประเทศสูงขึ้น สินค้าส่งออก มีราคาสูงขึ้น สินค้าส่งออกลดลง ราคาสินค้าจาก ต่างประเทศถูกกว่า สินค้านำเข้า มีราคาถูก ซื้อสินค้านำเข้าเพิ่มขึ้น ดุลการค้าขาดดุล
ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ) 5. ผลต่อการเมืองของประเทศ เงินเฟ้อ ประชาชนเดือดร้อน (ค่าครองชีพสูงขึ้น) พยายามเรียกร้อง เพื่อให้ได้รายได้เพิ่มขึ้น เงินเฟ้อยิ่งเพิ่มขึ้น ประชาชนยิ่งเดือดร้อน เพราะรายได้แท้จริงลดลง การกระจายรายได้ มีความเหลื่อมล้ำมากขึ้น รัฐบาลแก้ไขไม่ได้ เกิดความไม่พอใจ เปลี่ยนแปลงรัฐบาล
: ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ 1. ลดอุปสงค์มวลรวมหรือลดการใช้จ่ายรวมของประเทศ : ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบเข้มงวด นโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบหดตัว
การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ (ต่อ) 2. เพิ่มอุปทานมวลรวม มาตรการในระยะยาว ปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อเพิ่ม อุปทานมวลรวมให้ทันกับการเพิ่มขึ้นของ อุปสงค์มวลรวม คิดค้นวิทยาการใหม่ ฝึกอบรมเพิ่มทักษะแก่แรงงาน
การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ (ต่อ) 3. มาตรการอื่นๆ ควบคุมราคาสินค้า โดยกำหนดราคาขายในท้องตลาดของสินค้าที่สำคัญบางชนิดที่จำเป็นต่อการครองชีพ มีการลงโทษผู้กักตุนสินค้า ควบคุมสหภาพแรงงานไม่ให้เรียกร้องค่าแรงสูงกว่าผลิตภาพของแรงงาน ฯลฯ
เงินฝืด (Deflation) ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไป ลดต่ำลงเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่นำออกขาย อำนาจซื้อเพิ่มขึ้น การแก้ปัญหา
อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่า ปริมาณสินค้าที่นำออกขาย ผู้ผลิตต้องลดราคาลงเรื่อยๆ ลดปริมาณการผลิตและการจ้างงาน เกิดการว่างงาน
การว่างงาน (Unemployment)
การว่างงาน (Unemployment) ภาวะการณ์ที่ผู้ที่อยู่ในวัยทำงานซึ่งมีความ สมัครใจและมีความสามารถที่จะทำงาน ณ ระดับค่าแรงที่ปรากฏ แต่ไม่สามารถหางานทำได้ การว่างงานโดยไม่สมัครใจ และ การว่างงานโดยสมัครใจ
ว่างงานโดยไม่สมัครใจ ประเทศ A ประเทศ B ประชากร 10 คน 9 คน มีงานทำ นาย ก. ไม่มีงานทำ นาย ข.ไม่มีงานทำ นาย ก. หางานทำไม่ได้ นาย ข.ไม่ต้องการทำงาน ว่างงานโดยไม่สมัครใจ ว่างงานโดยสมัครใจ มีการว่างงาน ไม่มีการว่างงาน
ประเภทของการว่างงาน การว่างงานโดยเปิดเผย (Open Unemployment) การว่างงานแอบแฝง (Disguised unemployment)
การว่างงานโดยเปิดเผย (Open Unemployment) การว่างงานชั่วคราว (Frictional unemployment) การว่างงานตามฤดูกาล (Seasonal unemployment) การว่างงานเนื่องจากโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ (Structural unemployment)
Open Unemployment (ต่อ) วัฎจักรเศรษฐกิจ (Business cycles) ระยะเศรษฐกิจรุ่งเรือง (Prosperous period) ระยะเศรษฐกิจหดตัว (recession period) ระยะเศรษฐกิจตกต่ำ (depression period) ระยะเศรษฐกิจฟื้นตัว (recovery period) การว่างงานเนื่องจากวัฎจักรเศรษฐกิจ (Cyclical unemployment)
Open Unemployment (ต่อ) วัฎจักรเศรษฐกิจ (Business cycles) Y time รุ่งเรือง หดตัว ตกต่ำ ฟื้นตัว I P ว่างงานต่ำ I ว่างงานลดลง I P ว่างงานสูง I ว่างงานสูงขึ้น
การว่างงานแอบแฝง (Disguised unemployment) การว่างงานที่มองไม่เห็นว่ามีการว่างงานเกิดขึ้น บุคคลนั้นยังคงทำงานอยู่แต่ต้องทำงานต่ำกว่าระดับความรู้ความสามารถ
Disguised unemployment (ต่อ) ปี 44 : ทั้ง 7 คน ทำนาในที่ดิน 1 ไร่ ได้ข้าว 60 ถัง ครอบครัวชาวนา มีสมาชิก 7 คน ปี 45 : ลูก 2 คนไปทำงานกรุงเทพฯ ปี 45 : 5 คน ทำนาในที่ดิน 1 ไร่ ได้ข้าว 60 ถัง ปี 44 มีแรงงานแอบแฝง 2 คน
การแก้ปัญหาการว่างงาน นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย นโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบขยายตัว เพิ่มอุปสงค์รวมหรือการใช้จ่ายมวลรวม นโยบายประชากร ควบคุมอัตราการเพิ่มของประชากร
Stagflation Stagnation + Inflation Stagnation : ภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจ หรือภาวะเศรษฐกิจซบเซา เป็นภาวะทางเศรษฐกิจแบบหนึ่ง มีลักษณะสำคัญ คือ มีภาวะเงินเฟ้อในขณะเดียวกันก็มีภาวะเศรษฐกิจซบเซา ผลผลิตลดลง การจ้างงานลดลง (มีการว่างงานสูง)
วัฎจักรเศรษฐกิจ (Business cycles)
วัฎจักรเศรษฐกิจ (Business cycles) time รุ่งเรือง หดตัว ตกต่ำ ฟื้นตัว I P ว่างงานต่ำ I ว่างงานลดลง I P ว่างงานสูง I ว่างงานสูงขึ้น
ระยะเศรษฐกิจรุ่งเรือง (Prosperous period) มีการจ้างงานเต็มอัตรา ปรากฏการขาดแคลนแรงงาน ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เนื่องมีการเรียกร้องค่าจ้างแรงงานของสมาพันธ์ลูกจ้าง ราคาสินค้าสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากไม่สามารถเพิ่มอุปทานได้ทันกับความต้องการ AS < AD มีการจับจ่ายใช้สอยในอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีรายได้เพิ่มขึ้น C (ประชาชนมีอำนาจซื้อสูง)
ระยะเศรษฐกิจหดตัว (recession period) การลงทุนเริ่มลดลง เนื่องจากอัตรากำไรน้อยลง ธุรกิจเลิกกิจการเป็นจำนวนเพิ่มขึ้น ทำให้ผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจผลิตได้มีจำนวนลดลง เริ่มมการว่างงานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากธุรกิจต้องเลิกกิจการไป ประชาชนมีรายได้น้อยลง ส่งผลให้การใช้จ่ายในการบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ ลดน้อยลงด้วย
ระยะเศรษฐกิจตกต่ำ (depression period) สินค้าขายไม่ออกเป็นจำนวนมาก อัตราการว่างงานเพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ การลงทุนน้อยมาก เนื่องจากไม่มีกำไร รายได้ของประชาชนน้อย การใช้จ่ายในการบริโภคไม่ใคร่มี อัตราดอกเบี้ยต่ำมาก
ระยะเศรษฐกิจฟื้นตัว (recovery period) การลงทุนเริ่มมากขึ้น เนื่องจากกำไรเริ่มสูงขึ้น ผลผลิตและการจ้างงานเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ประชาชนเริ่มมีรายได้เพิ่มมากขึ้น การใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มมากขึ้นเริ่มเรื่อย ๆ อัตราดอกเบี้ยและราคาสินค้าเริ่มปรับตัวสูงขึ้นเรื่อย ๆ
เครื่องชี้ภาวะทางเศรษฐกิจ ประเทศอยู่ในช่วงวัฎจักรเศรษฐกิจระยะใด รายได้ประชาชาติที่แท้จริง รายได้ประชาชาติที่แท้จริงเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติที่แท้จริงลดลงในอัตราที่ลดลง รุ่งเรือง หดตัว
วัฎจักรเศรษฐกิจของไทย Y time รุ่งเรือง หดตัว ตกต่ำ ฟื้นตัว I P ว่างงานต่ำ I ว่างงานลดลง I P ว่างงานสูง I ว่างงานสูงขึ้น 2541-ปัจจุบัน 2540
การเปลี่ยนแปลงวัฎจักรเศรษฐกิจ ปี 2540 ไทยประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำถึงจุดสุดยอด เศรษฐกิจของประเทศหดตัวอย่างรุนแรง - ประกาศเงินบาทลอยตัว - การลงทุนหยุดชะงักอย่างสิ้นเชิง - การบริโภคของภาคครัวเรือนลดลงอย่างรวดเร็ว - ธุรกิจปิดกิจการไปเป็นจำนวนมาก - มีการปลดพนักงานออกเป็นจำนวนมาก
การแก้ไขวัฎจักรเศรษฐกิจช่วงตกต่ำของไทย นโยบายการเงิน ปล่อยสินเชือเพื่อการบริโภค เพื่อกระตุ้นการบริโภคของภาคครัวเรือน เห็นได้จาก โครงการเอื้ออาทร AD/C I การจ้างงาน DAE Y
นโยบายการคลัง I NI/GDP I DAE DAE G T เกิดการจ้างงาน ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม Y , C Yd , C AD AD I NI/GDP I
ในปัจจุบันเศรษฐกิจไทยกำลังอยู่ในช่วงฟื้นตัว การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ ดังต่อไปนี้ จากสมการ Y = C + I + G + (X-M) การบริโภค (C) การปล่อยสินเชื่อเพื่อการบริโภคและสินเชื่อเพื่อการก่อสร้าง , การลดภาษีมูลค่าเพิ่ม , การลดภาษีเงินได้ การลงทุนภาคเอกชน (I) อุตสาหกรรมก่อสร้างฟื้นตัว , ตลาดอสังหาริมทรัพย์ฟื้นตัว , ผลประกอบการของบริษัทห้างร้านต่าง ๆ ดีขึ้นอย่างมาก , ตลาดหลักทรัพย์เริ่มมีการซื้อขายมากขึ้น
รายจ่ายรัฐบาล (G) มีการลงทุนในโครงการใหญ่ๆ หลายโครงการ ได้แก่ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ ทางหลวง รถใต้ดิน รถไฟฟ้า เป็นต้น การส่งออก (X) โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ , อาหาร , เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนสินค้าเกษตร ได้แก่ ไก่ การนำเข้า (M) มีการลดการนำเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น เครื่องสำอาง , น้ำหอม , เสื้อผ้าแบรนด์เนม ด้านการบริการ เช่น การลดการท่องเที่ยวต่างในประเทศ