ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
Lesson 11 Price.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
การประยุกต์ 1. Utility function
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Revision Problems.
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Price Elasticity of Demand)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) เป็นการวัดการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยวัดออกมาในรูปของร้อยละ Ed = % Q % P

วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)

การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) Q P1 P2 Q1 Q2 A B P1 : ราคาเดิม P2 : ราคาใหม่ Q1 : ปริมาณเดิม Q2 : ปริมาณใหม่ ความยืดหยุ่น ณ จุด A เท่ากับ ? Q เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เมื่อ P เพิ่มขึ้น

สูตรความยืดหยุ่นของอุปงค์แบบจุด (Point elasticity of Demand) Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Q2 - Q1 P2 - P1

ตัวอย่าง สินค้าราคา 20 บาท มีคนซื้อ 10 ชิ้น แต่ราคาลดลงเป็น 18 บาท คนจะซื้อเพิ่มเป็น 15 ชิ้น ค่าความยืดหยุ่นที่ A คือ

Q2 - Q1 Q1 P2 - P1 P1 x Ed = 15 - 10 10 18 - 20 20 = 5 2

P A 20 B 18 D Q 10 15

ค่าความยืดหยุ่นที่ A = -5 หมายถึงว่า ถ้าราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนไป 5% ส่วนเครื่องหมายเป็นลบเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อมีทิศทางตรงกันข้าม ค่าความยืดหยุ่นจะพิจารณาเฉพาะตัวเลขเท่านั้น

สำหรับค่าความหยือหยุ่นที่จุด B คือ Q1 - Q2 Q2 P1 - P2 P2 x Ed = 10 - 15 15 20 - 18 18 = 5 2 3

P Q 18 20 15 10 B A Ed = - 3 Ed = - 5

จะเห็นว่าค่าความยืดหยุ่นที่จุด A = -5 ที่ B = -3 ได้ค่าไม่เท่ากันทั้งๆที่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อ และราคาที่มีค่าเท่ากัน เพียงแต่การใช้ราคาปริมาณเริ่มแรกที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาว่าจะใช้ค่าใดเป็นเริ่มแรก การคำนวณค่าความยืดหยุ่นจึงมีอีกสูตรหนึ่ง คือ

ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์บนช่วงใดช่วงหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ (Arc elasticity of demand) คือ ช่วง AB Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x

Ed = = P1 : 20 บาท Q1 : 10 ชิ้น P2 : 18 บาท Q2 : 15 ชิ้น 10 - 15 10 + 15 20 - 18 20 + 18 x = 5 25 2 38 3.8 Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 Ed =

ซึ่งค่า -3.8 นี้ไม่ว่าจะใช้ราคาและปริมาณใดเป็นตัวเริ่มต้นก็ตามจะได้ค่าเท่ากับ -3.8 เสมอ P Q 18 20 15 10 B A Ed = - 3.8

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย Ed = % Q % P ถ้า % Q > % P   Ed  > 1 ถ้า % Q < % P   Ed  < 1 ถ้า % Q = % P   Ed  = 1 ถ้า % Q = 0   Ed  = 0 ถ้า % P = 0   Ed  = 

Price Elasticity of Demand

ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ความยืดหยุ่นมาก (Elastic)    ความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic) -  สินค้าที่มีของทดแทนได้มาก    -  สินค้าที่มีของทดแทนได้น้อย -  สินค้าฟุ่มเฟือย                      -  สินค้าจำเป็น -  สินค้าคงทนถาวร                    -  สินค้าที่มีราคาเพียงเล็กน้อย

1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < ) % Q > % P P Q 4 5 100 50 TR x = 1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < )

P Q % Q < % P 4 5 100 90 TR x = 2. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Demand ; 0 <  Ed  < 1)

3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ;  Ed  = 1) % Q = % P 4 5 100 80 400 บาท P TR คงที่ Q 3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ;  Ed  = 1)

D P Q % P = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อ 4 50 100 4. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Demand ; Ed = )

P Q % Q = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา 4 D 100 5 5. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Demand ; Ed = 0)

สรุป  Ed  = 1 ความ ยืดหยุ่น ค่าความ ยืดหยุ่น การเปลี่ยนแปลงราคา ราคาเพิ่ม ราคาลด Elastic 1 < Ed <  รายได้รวมลดลง รายได้รวมเพิ่มขึ้น Unitary Elastic  Ed  = 1 รายได้รวมคงที่ Inelastic 0 <  Ed  < 1

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand : EY) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ EY = % Q % Y

วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)

การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) Q1 - Q2 Q1 Y1 - Y2 Y1 x EY = Y1 : รายได้เดิม Q1 : ปริมาณเดิม Y2 : รายได้ใหม่ Q2 : ปริมาณใหม่

การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand) Q1 - Q2 Q1 + Q2 Y1 - Y2 Y1 + Y2 x EY =

ถ้าค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้มีเครื่องหมายเป็นบวกแสดงว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) หรือสินค้าฟุ่มเฟือย (Superior Goods) และถ้ามีเครื่องหมายเป็นลบแสดงว่าเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) เพราะเมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นจะซื้อสินค้าชนิดนั้นลดลง

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross - Price Elasticity of Demand : EC) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง Ec = % QX % Py

การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) Py1 : ราคา y เดิม Qx1 : ปริมาณ x เดิม Py2 : ราคา y ใหม่ Qx2 : ปริมาณ x ใหม่ Qx1 - Qx2 Qx1 Py1 - Py2 Py1 x EC =

การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand) Qx1 - Qx2 Py1 - Py2 x EC = Py1 + Py2 Qx1 + Qx2

สินค้าที่เกี่ยวข้องกันแบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods) เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภคต้องใช้ร่วมกัน ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะไม่สามารถบริโภคได้ เช่น รถยนต์และน้ำมัน เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ต้องใช้ประกอบกันจะมีทิศทางตรงกันข้ามหรือเป็น -             สินค้าทดแทนกัน (Substitute Goods) เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภค ถ้าหาสินค้าชนิดหนึ่งไม่ได้สามารถใช้สินค้าอีกชนิดหนึ่งทดแทนได้ เช่น เนื้อหมูกับเนื้อไก่ เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้จะมีทิศทางเดียวกันหรือเป็น +

ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply : Es) ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply) : เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น Es = % Q % P

วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Es = การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x Es =

ค่าความยืดหยุ่นและลักษณะของเส้นอุปทาน 1. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Supply ; Es = 0) P Q % Q = 0 S 100

2. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Supply ; 0 < Es < 1) % Q < % P P Q 4 5 100 110 S 25% 10%

3. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Supply ; Es = 1) % Q = % P P Q 4 5 100 125 S 25%

4. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Supply ; 1 < Es < ) % Q > % P P Q 4 5 100 160 S 25% 60%

5. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Supply ; Es = ) Q 4 S

Price Elasticity of Supply

ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน ความยากง่ายและเวลาที่ใช้ในการผลิต สินค้าที่สามารถผลิตได้ง่ายและใช้เวลาในการผลิตสั้นอุปทานของสินค้ามีค่าความยืดหยุ่นสูง ปริมาณสินค้าคงคลัง สินค้าที่มีสินค้าคงคลังสำรองมาก อุปทานของสินค้าจะมีความยืดหยุ่นสูง

ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน ความหายากของปัจจัยการผลิต ถ้าปัจจัยที่ใช้ในการผลิตสินค้ามีจำนวนจำกัดและหายาก ต้องใช้เวลาในการหาปัจจัยการผลิตนาน อุปทานของสินค้าชนิดนั้นจะมีความยืดหยุ่นต่ำ ระยะเวลา ถ้าระยะเวลานานความยืดหยุ่นของอุปทานจะมากเพราะผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตได้ทุกชนิด แม้แต่เทคโนโลยีและเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ

ประโยชน์ของค่าความหยืดหยุ่นของอุปสงค์ ในการวางนโยบายหรือมาตรการของรัฐ เช่น การจัดเก็บภาษีจากสินค้า รัฐจะต้องรู้ว่าสินค้านั้นมีความหยืดหยุ่นเท่าไร เพื่อจะได้ทราบว่าภาระภาษีจะตกไปบุคคลกลุ่มใด ช่วยให้หน่วยุรกิจสามารถดำเนินกลยุทธทางด้านราคาได้อย่างถูกต้องว่าสินค้าชนิดใดควรตั้งราคาสินค้าไว้สูงหรือต่ำเพียงใด ควรเพิ่มหรือลดราคาสินค้า จึงจะทำให้รายได้รวมกำไรของธุรกิจจะเพิ่มขึ้น นำมาใช้ประกอบการพยากรณ์แนวโน้มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ