สุนทรียศิลป์ (Aesthetics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนระยะสั้น ณ ม.ชนชาติกวางสี
Advertisements

เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
บทที่ 2 การพูดในที่ชุมนุมชน
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
รายงานการวิจัย.
สื่อการสอนกลุ่มสาระศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ เรื่อง พื้นฐานงานศิลป์
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
การดู.
องค์ประกอบ Graphic.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
งานเขียนแบบ การวิวัฒนาการของงานเขียนแบบ
คุญลักษณะของบุคคลในกลุ่มงาน จัดทำโดย อาจารย์พิมพรรณ เพิ่มพูลศักดิ์
บทที่ 2 สุนทรียภาพในงานวิจิตรศิลป์.
บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี.
บทที่ 3 ประยุกต์ศิลป์.
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
Data Mining นำเสนอโดย อาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ คณะสารสนเทศศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
บทนำ บทที่ 1.
พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ. ศ.2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ดังต่อไปนี้ มาตราที่
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
ศิลปะการพูด (Rhetorical Speech)
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ทัศนคติในเทพนิยาย.
1.คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์กับธรรมชาติ
พื้นฐานการออกแบบ Graphic Design
ทรัพยากรห้องสมุด.
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ Digital Library ปี
ทรัพยากรห้องสมุด หนังสือ ตำรา วารสารสื่อมัลติมีเดียทันสมัยสอดคล้องกับการสอน.
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สุนทรียภาพในงานศิลปะ หมายถึงรสนิยมในทางศิลปะหรือคุณค่าทางความงาม ซึ่งมิได้หมายถึงแค่สิ่งที่สวยงามเท่านั้น แต่หมายรวมถึงความงามในด้านลบที่ปรากฏอยู่ในงานศิลปะอีกด้วย.
โรงเรียนตรอนตรีสินธุ์ อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความหมายของการวิจารณ์
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ประเภทของการวิจารณ์.
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ทบทวน ก่อนสอบปลายภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สุนทรียศิลป์ (Aesthetics)

ความหมายของสุนทรียศิลป์และ ประเภทของงานศิลปะ บทที่ 1 ความหมายของสุนทรียศิลป์และ ประเภทของงานศิลปะ

ความหมายของ สุนทรียะ สุนทรียภาพ และสุนทรียศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่เกี่ยวกับความงาม สุนทรียะ คือ ความงาม สุนทรียภาพ คือ ความรู้สึกในความงาม

วิจิตรศิลป์ เป็นศิลปะที่สร้างขึ้น เพื่อให้ความรู้สึกทาง แบ่งตามลักษณะ จุดมุ่งหมาย ศิลปะ ได้เป็น 2 ประเภทคือ วิจิตรศิลป์ เป็นศิลปะที่สร้างขึ้น เพื่อให้ความรู้สึกทาง สุนทรียภาพ ประยุกต์ศิลป์ เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอย และให้คุณค่าทางความงามด้วย

ทัศนศิลป์ ( Visual Arts ) แบ่งตามลักษณะ การรับสัมผัส ศิลปะ ได้เป็น 3 สาขา คือ ทัศนศิลป์ ( Visual Arts ) รับสัมผัสด้วยการเห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรม และศิลปะภาพถ่าย

ศิลปะแบ่งตามลักษณะ การรับสัมผัส (ต่อ) โสตศิลป์ ( Aural Arts ) รับสัมผัสด้วยการฟัง ได้แก่ ดนตรี วรรณกรรม ( ผ่านการอ่านหรือร้อง ) โสตทัศนศิลป์ ( Audio Visual Arts ) รับสัมผัสด้วยการฟังและการเห็นพร้อมกัน ได้แก่ ละคร การแสดง ภาพยนตร์

กิจกรรม ผลงานชิ้นนี้เป็นงานศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใด และสามารถรับสัมผัสได้ด้วยวิธีใด “ Mona lisa ” by Leonardo da vinci

กิจกรรม ผลงานชิ้นนี้เป็นงานศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใด และสามารถรับสัมผัสได้ด้วยวิธีใด “sunflowers” by vinsent van gogh

กิจกรรม ผลงานชิ้นนี้เป็นงานศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใด และสามารถรับสัมผัสได้ด้วยวิธีใด Pieta by Michelangelo

กิจกรรม ผลงานชิ้นนี้เป็นงานศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายใด และสามารถรับสัมผัสได้ด้วยวิธีใด

อ้างอิง www.wikipedia.org/wiki/ศิลปะ www.prc.ac.th www.edtech.kku.ac.th