สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics : สังคมมนุษย์ : การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ : การเมือง : กระบวนการอำนาจและการใช้ : ความสัมพันธ์ : มนุษย์กับการเมือง
(Social Contract Theories of Society) ที่มาของสังคม ทฤษฎีสัญญาสังคม (Social Contract Theories of Society) เน้นสภาพธรรมชาติ (State of Nature) : ธอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) อธิบายว่า ระยะเริ่มมนุษย์ไม่ได้อยู่รวมกันในสังคม แยกกันอยู่ตามสภาพธรรมชาติ (State of nature) ใต้กฎ ธรรมชาติ (Natural law) ที่ไม่เหมาะสมกับอารยธรรม พิจารณามนุษย์ในทางลบ และลักษณะต่างๆไม่ดี
ที่มาของสังคม สภาพมนุษย์ : - ลักษณะโดดเดี่ยว (solitary) - ยากจน (poor) - น่าเกลียด (nasty) โหดร้าย (brutal) - ติดต่อกันระยะสั้น (short) - ไม่มีความรับผิดชอบ - ไม่มีความยุติธรรม
ที่มาของสังคม ข้อตกลง Hobbes เสนอ : บุคคลเป็นเจ้าของทุกสิ่งทุกอย่างตามที่ตนแสวงหา มาได้ มนุษย์ทำสงครามเพื่อความอยู่รอดของตน มนุษย์ตกกันทำสัญญา จะเลิกอยู่แบบตัวใครตัวมัน และใช้กำลังตามธรรมชาติ แต่จะอยู่รวมกันภายใต้การ ปกครองของ “องค์อธิปัตย์” (sovereign) เกิดอำนาจทาง การปกครองภายใต้รัฐบาล
: จอห์น ล็อค (John Locke) เสนอแนวคิดต่างจาก Hobbes เกี่ยวกับสภาพตาม ที่มาของสังคม : จอห์น ล็อค (John Locke) เสนอแนวคิดต่างจาก Hobbes เกี่ยวกับสภาพตาม ธรรมชาติและมนุษย์ - สภาพธรรมชาติของสังคมจะมีการจัดการปกครอง ที่มีระเบียบดีแล้ว (State of Organized Society) - ความไม่สมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ ทำให้มนุษย์ ที่เป็นผู้ตัดสินคดีที่กระทำความผิดกันเอง ซึ่งมีข้อบกพร่อง อยู่บางประการ
ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Locke : อย่างถูกต้องและยุติธรรม กฎหมาย 1. การตั้งศาล (judicature) เพื่อตีความกฎหมาย อย่างถูกต้องและยุติธรรม 2. การตั้งฝ่ายบริหาร (executive) เพื่อที่จะรักษา กฎหมาย 3. การตั้งฝ่ายนิติบัญญัติ (legislature) เพื่อกำหนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรักษาและดูแลคดีต่างๆ มนุษย์ยอมสละสิทธิการลงโทษ โดยยกสิทธิให้องค์กร ทำหน้าที่แทน = สัญญาร่วมกัน สังคมและรัฐบาลจะเกิดขึ้น
: ชอง ฌาคส์ รุสโซ (Jear Jacques Rousseau) ที่มาของสังคม : ชอง ฌาคส์ รุสโซ (Jear Jacques Rousseau) ยอมรับความคิดของ John Locke เกี่ยวกับมนุษย์ที่ อยู่ในสภาพธรรมชาติ และอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ Rousseau เชื่อว่า สภาพธรรมชาติมนุษย์เป็นคนดีมี ความเห็นอกเห็นใจในความทุกข์ยากของผู้อื่น ความรู้สึกจะ อยู่ร่วมกันเป็นสังคม และสังคมมีลักษณะเป็นของส่วนรวม
ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Rousseau : จากมีการรวมเป็นสังคม : เจตนารมณ์ทั่วไป (general will) เกิดขึ้นภายหลัง จากมีการรวมเป็นสังคม : สังคมจะมีเจตนารมณ์ทั่วไปมุ่งพิทักษ์รักษาและให้ สวัสดิการแก่ส่วนรวม : เจตนารมณ์ทั่วไปเป็นแหล่งที่มาของกฎหมาย ทั้งหมด
: เจตนารมณ์ทั่วไปจะกำหนดความสัมพันธ์ ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Rousseau : : เจตนารมณ์ทั่วไปจะกำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกของสังคม : เจตนารมณ์ทั่วไปเป็นสิ่งสูงสุด รัฐเป็นเพียง ตัวแทน (agent) เจตนารมณ์ = อำนาจอธิปไตย
”สังคม” เป็นกลุ่มคนที่มาอาศัยอยู่ร่วมกันภายใน ความหมายของสังคม ”สังคม” เป็นกลุ่มคนที่มาอาศัยอยู่ร่วมกันภายใน (1) อาณาบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็น (2) ระยะเวลา ยาวนานพอสมควร ผู้คนในกลุ่มมี (3) ความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน โดยที่กำหนด (4) รูปแบบบรรทัดฐาน กฎเกณฑ์ บทบาทและกิจกรรมต่างๆ เพื่อการอยู่รวมกัน เป็นถาวร
”Aristotle” เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ความหมายของสังคม ”Aristotle” เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ค.ศ.) เชื่อว่า มนุษย์ตามสภาพธรรมชาติต้องมีชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น มีการติดต่อสัมพันธ์กันและกัน ไม่สามารถมีชีวิตอย่างอิสระ ตามลำพังคนเดียว Aristotle เน้นถึงว่า ไม่มีมนุษย์ผู้ใดอยู่อย่างโดดเดี่ยวใน โลก มนุษย์ผู้เดียวไม่สามารถสืบพันธุ์ ไม่อาจป้องกันตนเอง และหาเลี้ยงชีพได้นาน ไม่อาจบำรุงสติปัญญา ความคิดและ มีกำลังใจเพียงพอ
“สังคม” เป็นกลุ่มคนขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งแต่ละคนมีความ ความหมายของสังคม Arnold W. Green (1972) “สังคม” เป็นกลุ่มคนขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งแต่ละคนมีความ รู้สึกเป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยประกอบด้วย - มีประชากร - มีการจัดระเบียบในการอยู่ร่วมกัน - มีเวลา/สถานที่/อาณาบริเวณและอาศัยอยู่อย่างถาวร - มีการแบ่งงานกันทำ - มีการแบ่งปันผลประโยชน์เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ได้
“สังคม” คือ คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ความหมายของสังคม พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542) “สังคม” คือ คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน
ความหมายของสังคม “สังคม” หรือการที่มนุษย์พวกหนึ่งๆ ที่มีอะไรส่วนใหญ่ ประสาท หลักศิลา (2514) “สังคม” หรือการที่มนุษย์พวกหนึ่งๆ ที่มีอะไรส่วนใหญ่ เหมือนกัน/คล้ายคลึงกัน เช่น ทัศนคติ คุณธรรม ธรรมเนียม ประเพณีและได้มาอยู่รวมกันเป็นพวกเดียวกัน โดยที่มีความ สัมพันธ์กันและมาอยู่ในเขตเดียวกันอย่างถาวร
“สังคม” หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณ ความหมายของสังคม พัทยา สายหู (2524) “สังคม” หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณ ที่มีขอบเขตกำหนด มีความสัมพันธ์อันเกิดจากการประพฤติ ปฏิบัติต่อกัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยอมรับ แบบแผนหรือวิธีการกฎเกณฑ์อย่างเดียวกัน
สังคมมนุษย์ Human Society : สังคม คือ “กลุ่มของมนุษย์กลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีส่วนร่วมในระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ (a self- sufficient system of action) ซึ่งสามารถจะดำรงอยู่ ได้นานกว่าอายุของมนุษย์คนหนึ่ง กลุ่มมนุษย์นี้อย่าง น้อยจะต้องแสวงหาสมาชิกใหม่ด้วยวิธีการผสมพันธุ์ ตามธรรมชาติ” Aberle, Cohen, Davis, Levy and Sutton. 1950. “ The Functional Pre-Requisites of a Society.” Ethics. Vol. 60. January 1950
สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 1 – ระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเอง ระบบกระทำการทุกระบบจะต้องอยู่ภายใต้สถานการณ์หนึ่ง (a situation) เสมอ สถานการณ์ = มนุษย์ = สิ่งแวดล้อมที่ไม่ใช่มนุษย์ (non- human environment) = สังคมอื่นๆ ระดับภายในและภาย นอกสังคมเดียวกัน สังคม (a society)
สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 1 – ระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเอง -: ระบบกระทำการสังคมจะต้องจัดเตรียมเพื่อเผชิญกับ สถานการณ์ต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ชิด และยังส่ง ผลกระทบต่อสังคม -: ลักษณะสามารถเลี้ยงตนเอง โดยไม่ต้องติดต่อกับสังคม ภายนอกระยะหนึ่งก็ยังอยู่ได้ ระบบสังคมมีความสามารถ ทำหน้าที่ที่จำเป็นต่างๆ ของสังคม (functional prerequisites)
สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 2 – ความสามารถอยู่นานกว่าอายุมนุษย์ 1 คน -: สังคมจะต้องสามารถสร้างสมาชิกใหม่แทนสมาชิกเก่า โดยการอบรมสั่งสอน (Socialization) -: สมาชิกของสังคมบางส่วนต้องมาจากด้วยวิธีการผสม พันธุ์ตามธรรมชาติ เพราะต้องการแยกสังคมออกจาก กลุ่มทางสังคม เช่น สมาคม วัด/สำนักสงฆ์ และสโมสร การแสวงหาสมาชิก + การเพิ่มด้วยผสมพันธ์ตามธรรมชาติ + การเพิ่มด้วยการอพยพ การสู้รบ/กวาดต้อน
สาระสำคัญของความหมาย สังคม = วัฒนธรรม + วัฒนธรรม เป็นกฎเกณฑ์กำหนดพฤติกรรมทางสังคม ของมนุษย์ = นามธรรม - แบบแผนวัฒนธรรมของสังคม อาศัยการสังเกตจาก พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavior) - สังคม 2 สังคม/มากกว่าอาจจะมีวัฒนธรรมคล้ายกัน เช่น ไทย ลาว เขมร - สังคมเดียวกันอาจจะมีวัฒนธรรมแตกต่างกันแต่ละ กลุ่ม (Sub-culture)
สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 3 – สังคมแต่ละสังคมอาจไม่จำเป็นต้องพึ่ง ตนเองด้านทรัพยากรตลอดไป -: สังคมต้องมีทรัพยากรมากพอควรเพื่อใช้ภายในสังคม = ไม่มีเลยไม่ได้ -: สังคมต้องมีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกับสังคมอื่น แต่ ไม่ใช่กลายเป็นสังคมเดียวกัน
หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 1 – สังคมจัดสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ ปฏิบัติการทางเพศของสมาชิกเพื่อการเพิ่ม สมาชิกใหม่ด้วยวิธีการสืบพันธุ์ (Sex Reproduction) -: การบำรุงรักษาความต่อเนื่องทางชีวะ (Maintenance of Biological Continuation) ของสมาชิกสังคม - การรักษาระดับจำนวนสมาชิกที่เหมาะสม ไม่มาก หรือน้อยเกินไป - การติดต่อกับสังคมอื่นจะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ ความอยู่รอดสังคมตนเอง
หน้าที่สำคัญของสังคม -: การบำรุงรักษาความต่อเนื่องทางชีวะ (Maintenance of Biological Continuation) ของสมาชิกสังคม - การจัดการให้มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศของสมาชิก (Heterosexual Relationship) ผลิตสมาชิกใหม่ - สมาชิกจำนวนพอเหมาะต้องทำหน้าที่ตามบทบาท (Role) และสถานภาพ (Status) เพื่อความคงอยู่ สังคม - สังคมจำเป็นต้องปรับตัว จัดการและเปลี่ยนแปลง ภาวะแวดล้อมธรรมชาติให้เหมาะสม
หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 2 – การอบรมวัฒนธรรม/การให้สมาชิกรู้จัก กฎเกณฑ์พฤติกรรมทางสังคม (Socialization or Enculturation) -: สมาชิกใหม่สังคมต้องรู้และเข้าใจ”โครงสร้างแห่ง การกระทำ” (Structure of Action) : กฎเกณฑ์ ทางสังคม บทบาท (Role) สถานภาพ (Status) วิถีปฏิบัติและถ่ายทอดแบบแผนทางวัฒนธรรมของ สังคม
หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 3 – การติดต่อสื่อสาร (Communication) ที่ให้มีภาษาร่วมกันของสมาชิก -: การจัดให้มีการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในสังคม เพื่อรับรู้และเข้าใจร่วมกัน ด้วยระบบสัญลักษณ์ (Symbolic Communication) - การรักษาค่านิยมร่วมกัน (Common Value) การ เรียนรู้และความเข้าใจร่วมกัน = Enculturation - การสร้างอำนาจบังคับ (Sanction) ในกิจกรรมทาง สังคม
หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 4 – หน้าที่ทางเศรษฐกิจ (Economic Function) -: การจัดให้มีการผลิต (Production) การกระจาย (Distribution) และการบริโภค (Consumption) - สังคมที่มีการจัดการเศรษฐกิจดี อาหารและ ทรัพย์สิน สมาชิกสมบูรณ์แข็งแรง : ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ : วิธีการจัดการทางเศรษฐกิจ
หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 5 – หน้าที่จัดระเบียบและรักษาความสงบ (Maintenance of Order) -: การจัดระเบียบการปกครองและความยุติธรรม ระงับ ข้อพิพาท การขัดผลประโยชน์ และความไม่สงบ - การจัดระเบียบภายใน (Internal Order) - การจัดระเบียบภายนอก (External Order)
เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 1 – การไม่สืบต่อทางชีวะในหมูสมาชิกสังคม -: การที่มีสมาชิกสังคมลดลงเหลือน้อยเกิดไป - อัตราการเกิด - อัตราการตาย - อัตราการย้ายถิ่น
เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 2 –สมาชิกสังคมเฉื่อยชาเกินขนาด -: การที่มีสมาชิกสังคมไม่อยากทำอะไร ไม่ต้องการ ปฏิบัติหน้าที่ การขาดสิ่งจูงใจและกำลังใจที่จะกระทำ - โครงสร้างสังคมไม่สมบูรณ์ - ไม่มีประสิทธิภาพ
เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 3 –สังคมเกิดกลียุค -: การเกิดภาวะปราศจากความยุติธรรม ขาดกฎหมาย และปทัสถาน (Norm) - สมาชิกขาดความมั่นใจ - เกิดเอารัดเอาเปรียบ - กดขี่ รังแก
เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 4 –สังคมถูกดูดกลืนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอื่น -: การถูกกลืนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอื่น จนขาด ความเป็นเอกลักษณ์ตนเองและไม่รู้สึกผูกพัน - การแพ้สงคราม - การขยายทางวัฒนธรรม