“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้” ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) www.kmi.or.th praponp@gmail.com www.facebook.com/praponp
แบบทดสอบเพื่อการเรียนรู้ เตรียมกระดาษเปล่า 1 แผ่น เขียนชื่อที่มุมบนด้านขวา วาดรูปตามแบบที่กำหนดให้ (ในสไลด์ต่อไป) ให้เวลา 3 นาที ห้ามลอกเพื่อน
เกณฑ์การให้คะแนน ดูว่ามีผึ้งกี่ตัว (ให้ตัวละ 1 คะแนน ถ้ามีมากกว่า 4 ตัวให้ 0) มีผีเสื้อกี่ตัว (ให้ตัวละ 1 คะแนน ถ้ามีมากกว่า 2 ตัวให้ 0) ภาพมีกรอบ ให้ 2 คะแนน ภาพชิดด้านล่างกระดาษ ให้ 1 คะแนน มีชื่อที่มุมบนด้านขวา ให้ 1 คะแนน (เขียนผิดที่ให้ 0)
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้” ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning Community) โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ (Learning School) บุคคลเรียนรู้ (Learning Person) ตัวเรา ผู้อำนวยการ ครู ฯลฯ ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน ฯลฯ “โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
สร้าง “ชุมชนแห่งการเรียนรู้” พัฒนา “โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ “ HOW ?
ด้วยกระบวนการที่เรียกว่า “KM” (Knowledge Management) มี 3 ขั้นตอนสำคัญ คือ . . . 1 แบ่งปันความรู้ Knowledge Sharing Explicit vs.Tacit 2 ความรู้มือหนึ่ง First Hand Knowledge Knowledge Utilization Facilitator 3 นำความรู้ที่ได้ไปใช้ สร้างความรู้ใหม่ พาทำ Learning by Doing Knowledge Creation ไม่สงวนลิขสิทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา “ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด – สคส.”
ความรู้นั้นมีอยู่หลากหลาย ทั้งที่อยู่ “ภายในและภายนอก” ตัวเรา Explicit K. Tacit K. VS. วิชาการ หลักวิชา ทฤษฎี (Theory) ปริยัติ มาจากการสังเคราะห์ วิจัย ใช้สมอง (Intellectual) เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์ ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ (Practice) ประสบการณ์ มาจากวิจารณญาณ ใช้ปฏิภาณ (Intelligent) เป็นเทคนิคเฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคน
โลกปัจจุบันนี้ มี Explicit Knowledge มากมายเหลือเกิน ความรู้ท่วมหัว ระบบ ช่วยได้ . . ห้องสมุด ช่วยได้ . . ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด !!
Tacit Knowledge การแชร์ความรู้ที่อยู่ใน (หัว) คน นั้นทำได้ ไม่ง่าย เหมือนในรูปนี้ Tacit Knowledge ที่อยู่ในแต่ละคนก็มีมากเช่นกัน !
Facilitator แบ่งปันความรู้ Knowledge Sharing Knowledge Utilization 1 แบ่งปันความรู้ Knowledge Sharing Explicit vs.Tacit 2 ความรู้มือหนึ่ง First Hand Knowledge Knowledge Utilization Facilitator 3 นำความรู้ที่ได้ไปใช้ สร้างความรู้ใหม่ พาทำ Learning by Doing Knowledge Creation ไม่สงวนลิขสิทธิ์ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า และโปรดแสดงแหล่งที่มา “ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด – สคส.”
Community of Practices (CoPs) คืออะไร? มีความสนใจใน เรื่องเดียวกัน มีความสัมพันธ์ที่ดี สนิทสนม คุ้นเคย ไว้เนื้อเชื่อใจ รู้สึกปลอดภัย CoP การจัดตั้ง พัฒนาห้องสมุดมีชีวิตใน ร.ร. การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ร.ร. การส่งเสริมให้ผู้ปกครอง และชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา มีเรื่องที่จะแบ่งปัน ประสบการณ์ ประเด็นความสำเร็จ เทคนิคการแก้ปัญหา
ตัวอย่าง “ชุมชนแห่งการเรียนรู้” ที่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ที่ท่านใช้คำว่า "สังฆะ" สังฆะ หมายถึง หมู่, คณะ หรือกลุ่ม ซึ่งเป็นคำกลางๆ สามารถที่จะนำไปใช้ได้ทั่วๆ ไป แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะหมายถึงหมู่หรือคณะของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ซึ่งมีจำนวนตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไป (ที่มา: http://www.geocities.com/moralcamp/dhamma.html)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud CoP เกิดจากการที่ผู้คนที่สนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้มาพูดคุยกัน . . . มาแบ่งปัน “เรื่องเล่าความสำเร็จ” . . . มาแบ่งปัน “บทเรียนที่ผ่านมา” Share “Best Practices” Share “Success Stories” Share “Lessons Learned” Learn2gether
สิ่งสำคัญคือการสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย . . ไว้เนื้อเชื่อใจกัน
ใกล้ชิด ไว้ใจ ไม่ใช่ ต่างคน ต่างอยู่
เทคโนโลยีช่วยได้ ทำให้คนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
เลือกชื่อบล็อกได้ตามที่ต้องการ http://YourBlog.gotoknow.org เทคโนโลยีช่วยได้ ทำให้คนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน http://gotoknow.org เลือกชื่อบล็อกได้ตามที่ต้องการ http://YourBlog.gotoknow.org
รูปเจ้าของบล็อก ชื่อบล็อก ชื่อบันทึก http://beyondKM.gotoknow.org ชื่อบันทึก
1. Manage Explicit Knowledge สรุป ชุมชนแห่งการเรียนรู้จะเกิดได้ ต้องอาศัยการจัดการใน 3 ระดับ 1. Manage Explicit Knowledge 1. จัดการกับตัว “ความรู้” (พัฒนาระบบ) 2. Manage Tacit Knowledge 2. จัดการกับ “ความรู้สึก” (พัฒนาความสัมพันธ์) 3. Manage Consciousness 3. จัดการกับ “ความรู้สึกตัว” (พัฒนาสติปัญญา)
เหตุผล เหตุปัจจัย คิด สุนทรียะ รู้ กระบวนการ KM ฝึกให้ “คน” เป็น “มนุษย์ที่สมบูรณ์” คิด สุนทรียะ รู้ ตรรกะ Discussion Dialogue Problem - based Playfulness creativity เพราะเปิดพื้นที่ ให้คนได้ใช้ สมองทั้งสองฝั่ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จินตนาการ ความรู้สึก
ถ้าไม่หลับ.... มีคำถามไหมครับ? THANK YOU