ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
Advertisements

Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
Adult Basic Life Support
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Thailand Research Expo
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
กองทุนประกันสังคมคือ...
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
VDO conference dengue 1 July 2013.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล พ.ศ.2553 ประเภทผู้ป่วยใน
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
ภาวะไตวาย.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย ของสถานบริการเอกชนนอกเครือข่าย กรณีอุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน วันที่ 26 มีนาคม 2555 – โรงแรมรามาการ์เด้นท์
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ กค /ว 13 ลว. 4 ก.พ.46 การชำระค่าใช้จ่ายในการเดินทางด้วยเงินสด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์การเบิกค่ารักษาพยาบาล กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตและเจ็บป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน

ที่ กค 0422.2/ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555 รัฐบาลมีนโยบายให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ สามารถให้บริการทางการแพทย์กับผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยความรวดเร็ว เข้าถึงได้ โดยปราศจากเงื่อนไขต่างๆ รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลทางราชการและเอกชนได้ โดยไม่ต้องทดรองจ่ายเงิน การใช้สิทธิให้ถือตามนโยบายบูรณาการ 3 กองทุน ได้แก่ ประกันสังคม สวัสดิการข้าราชการ และ สปสช.

การเบิกค่ารักษาพยาบาล ส่วนราชการต้นสังกัด อนุมัติเบิกค่ารักษาได้เฉพาะเข้ารับการรักษาก่อน 1 เมษายน 2555 เท่านั้น หลังจาก 1 เมษายน 2555 ติดต่อโรงพยาบาลเพื่อเบิกจากกองทุนบูรณาการ 3 กองทุน เท่านั้น ติดต่อ สปสช. หมายเลข 1330

แนวทางการกำหนดนิยามการเจ็บป่วยฉุกเฉิน เจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง ได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการเจ็บป่วยกระทันหัน ซึ่งเป็นอันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ จำเป็นต้องรักษาทันท่วงทีเพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยนั้น หลักเกณฑ์การคัดแยกระดับความรุนแรง 3 ระดับ ได้แก่ ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต สีแดง ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน สีเหลือง ผุ้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง สีเขียว

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต “สีแดง” ภาวะคุกคามต่อชีวิต หากไม่แก้ไขระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด หรือระบบปราสาท ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง ต้องการให้ช่วยเหลืออย่างรีบด่วน มิฉะนั้น ผู้ป่วยจะเสียชีวิตหรือพิการอย่างถาวรในเวลาไม่กีนาที ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน “สีเหลือง” ได้รับบาดเจ็บหรือภาวะเฉียบพลันมาก เจ็บปวดรุนแรง จำเป็นต้องได้รับปฏิบัติการแพทย์อย่างรีบด่วน มิฉะนั้น จะทำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น ส่งผลให้เสียชีวิต หรือพิการในระยะต่อมา รอได้บ้างแต่ไม่นาน หากไม่รักษาอาจเสียชีวิตหรือพิการได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง “สีเขียว” ภาวะเฉียบพลัน ไม่รุนแรง รอรับปฏิบัติการแพทย์ได้หรือเดินทางไปรับบริการด้วยตนเองได้ แต่หากปล่อยไว้เกินเวลาจะทำให้การบาดเจ็บรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนได้

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต สีแดง สีเหลือง สีเขียว ภาวะหัวใจหยุดเต้น หายใจลำบากหรือหายใจเหนื่อยหอบ ภาวะหยุดหายใจ ชีพจรช้ากว่า 40 หรือ เร็วกว่า 150 ครั้ง/นาที ภาวะ “ช็อก” จากการเสียเลือดรุนแรง ไม่รู้สึกตัว ชัก อัมพาต หรือตาบอด หูหนวก ทันที ชักตลอดเวลาหรือชักจนตัวเขียว ตกเลือด ซีดมาก หรือ เขียว อาการซึม หมดสติ ไม่รู้สึกตัว เจ็บปวดมากหรือทุรนทุราย เจ็บหน้าอกรุนแรงจากหลอดเลือดหัวใจตีบตันที่มีความจำเป็นต้องได้รับยาละลายลิ่มเลือด มือเท้าเย็นซีด หรือเหงื่อแตก ความดันโลหิตตัวบนต่ำกว่า 90 ตัวล่างสูงกว่า 130 เลือดออกมากอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา อุณหภูมิร่างกาย ต่ำกว่า 35 หรือสูงกว่า 40 องศา ถูกพิษ ภาวะจิตเวชฉุกเฉิน