Request Object.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Advertisements

Chapter IV : สร้างการติดต่อ
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP Objects
Function.
Location object Form object
JavaScript.
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
เริ่มปฏิบัติการเบื้องต้น
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
HTTP Client-Server.
World Wide Web WWW.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Active Server Pages (ASP)
Response Object.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Seree Chinodom Connection Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
ASP กับฐานข้อมูล.
SCC : Suthida Chaichomchuen
Selected Topics in IT (Java)
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
– Web Programming and Web Database
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
Php with Database Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 28 มิถุนายน 2550 Get, Post, Session, Cookies มหาวิทยาลัยโยนก.
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การรับข้อมูลในภาษา php
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
HTML, PHP.
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
PHP for Web Programming
ฟังก์ชัน.
เสรี ชิโนดม PHP กับ Form เสรี ชิโนดม
CHAPTER 3 System Variables and Array
CHAPTER 12 FORM.
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Domain Name System   (DNS).
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
Application Layer.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
PHP Html Form && Query string
Form.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Request Object

Request[collection|property|method|variable) Request Object เป็นออบเจ็กต์ที่คอยจัดการ การเข้าถึงข้อมูลที่ถูกร้องขอจากบราวเซอร์ไปยังเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งมีคอลเล็กชัน, พรอพเพอร์ตี้และเมธอดที่ช่วยจัดการข้อมูลที่ส่งมาจากบราวเซอร์ในรูปต่างๆ ได้ รูปแบบการใช้งาน Request[collection|property|method|variable) เช่น <% Request(“Opendatabase”) %>

Request Collections ClientCertificate บรรจุค่าที่ใช้ในการตรวจสอบผู้ขอใช้บริการ Cookies บรรจุค่าของ cookie ที่ถูกส่งไปกับการร้องขอ Form บรรจุค่าของส่วนประกอบต่างๆ(Elements)ในฟอร์มที่ส่งข้อมูลโดยใช้วิธี POST QueryString บรรจุค่าของตัวแปรในชุดข้อความ HTTP ในส่วนที่อยู่หลังเครื่องหมายคำถาม ServerVariables บรรจุค่าของตัวแปรแวดล้อมของเซิร์ฟเวอร์

Request Collections Request object จะหาตัวแปรใน collections เรียงตามลำดับดังนี้ 1. QueryString 2. Form 3. Cookies 4. ClientCertificate 5. ServerVariables

Cookies Collection <% Response.Cookies ( “myLowFatCookie “ ) ( “Breakfast” ) = “Banana” Response.Cookies ( “myLowFatCookie “ ) ( “Lunch” ) = “Apple” Response.Cookies ( “myLowFatCookie “ ) ( “Dinner” ) = “Orange” %> If Request.Cookies ( “myLowFatCookie” ).HasKeys then Response.Write ( “ You Have Keys! “ ) else Response.Write ( “No Keys Found “ ) End if

Request.Form(parameter)[index|.Count] Form Collection เป็นคอลเล็กชันที่รับข้อมูลจาก Form ของเอกสาร HTML (ซึ่งอยู่ภายใต้ tag <FORM> ซึ่งผ่านการ Submit จากผู้ใช้งานมายังเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งคอลเล็กชันนี่จะทำหน้าที่ แตกส่วนที่เป็นพารามิเตอร์ต่างๆ ของ Form และค่าของแต่ละพารามิเตอร์ที่ส่งมา รูปแบบการใช้งาน Request.Form(parameter)[index|.Count] เช่น Hello <%=Request.Form(txtUserFirstName)%>

ตัวอย่าง User Profile First Name : Last Name : User ID : Machine Name : คำสั่ง <%Response.Write(Request.Form)%> ‘=Display the entire form object Brian Dawson 23-DD Arizona Add ProFile

ผลลัพธ์ FormfrmHidden=lowRes & txtUserFirstName=Brian & txtUserForm=Dawsan & txtUserForm=23-DD &txtUserForm=Arizona & txtProfile=Add+Profile

Select Your Favorite Browser ตัวอย่าง Select Your Favorite Browser Internet Explorer Netscape Navigator Mosaic <% For Each item In Request.Form(“rdoBrowser”) Response.Write item & “<BR>” Next %> Vote

QueryString Collection เป็นคอลเล็กชันที่แยกส่วนที่เป็น QueryString จาก HTTP header ออกมาไว้, ซึ่ง QueryString ก็คือข้อความที่ปรากฏอยู่หลังเครื่องหมาย ? ใน URL โดยเรามักจะนำข้อมูลจากคอลเล็กชันนี้ไปสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล ใน Database Server แล้วส่งผลลัพธ์กลับมาให้บราวเซอร์ เช่น http://www.compsci.buu.ac.th/script/aa.asp?name=seree รูปแบบการใช้งาน RequestQueryString(variable)[(index)|.Count]

ServerVariables Collection เป็นคอลเล็กชันที่เก็บค่าตัวแปรของเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งตัวแปรดังกล่าวจะเก็บสถานะของเว็บเซิร์ฟเวอร์เอาไว้ ซึ่งก็มีข้อมูลหลายอย่างที่มีประโยชน์ต่อการสร้างแอพพลิเคชัน รูปแบบ Request.ServerVariables(ServerVaible)

Server Environment Variables ชื่อตัวแปร ความหมาย AUTH_TYPE เป็นวิธีที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ใช้ตรวจสอบ รายชื่อผู้ใช้สคริปต์ ในกรณีที่สคริปต์ ดังกล่าวมีการจำกัดสิทธิการเรียกดู CONTENT_LENGTH ขนาดของข้อมูลที่ส่งมาจาก client CONTENT_TYPE ชนิดของข้อมูลที่ส่งมาจาก client GATEWAY_INTERFACE หมายเลขรุ่น CGI/revision เช่น CGI/1.1 ฯลฯ

Server Environment Variables ชื่อตัวแปร ความหมาย LOGON_USER ชื่อของผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกของระบบ ปฏิบัติการ Windows NT PATH_INFO ชื่อ alias หรือ virtual directory ของ เอกสารเช่น /work1/chap4-1.asp ฯลฯ PATH_TRANSLATED ตำแหน่งจริงที่ใช้เก็บเอกสาร เช่น c:\aspdoc\chap4-1.asp ฯลฯ

Server Environment Variables ชื่อตัวแปร ความหมาย QUREY_STRING ข้อมูลที่ส่งมาโดยวิธีการ get จะเป็น ค่าที่อยู่ต่อท้ายชื่อเอกสารโดยมีเครื่อง หมาย ? กั้นเช่น chap4-1.asp?var1= name ฯลฯ REMOTE_ADDR IP address ของ client ที่เรียกมา REMOTE_HOST ชื่อ sever ของ client ที่เรียกมา REQUEST_METHOD วิธีการส่งข้อมูลแบบ get หรือ post

Server Environment Variables ชื่อตัวแปร ความหมาย SCRIPT_NAME ชื่อเอกสาร ASP ที่กำลังแสดง SERVER_NAME ชื่อเครื่องของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการ SERVER_PORT หมายเลขพอร์ต (port) ที่ใช้ในการ ติดต่อโดยปกติคือพอร์ตหมายเลข 80 SERVER_PROTOCOL ชนิดของการติดต่อ เช่น HTTP/1.1ฯลฯ SERVER_SOFTWARE ชื่อโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์เช่นPWSฯลฯ HTTP_ACCEPT_LANGUAGE ภาษาที่ใช้อยู่ เช่น th ฯลฯ

Server Environment Variables ชื่อตัวแปร ความหมาย HTTP_CONNECTION สถานภาพการติดต่อ เช่น keep/alive ฯลฯ HTTP_USER_AGENT ชนิดเบราเซอร์ที่เรียกมา เช่น Mozilla/4.0 (compatible;MSIE4.01;Windows98) ฯลฯ

ตัวอย่าง <TABLE border = “ 1 “> <% For Each name In Request.ServerVariables %> <TR> <TD> <%= name %> </TD> <TD> <%= Request.ServerVariables ( name ) %> </TD> </TR> <% Next %> </TABLE>

ตัวอย่าง <% If Instr (Request.ServerVariables ( “HTTP_USER_AGENT” ) , “MSIE” ) then ‘ = = = IE specific tags Elseif Instr (Request.ServerVariables ( “HTTP_USER_AGENT” ) , “Mozilla”) then ‘ = = = Netscape tags are placed here Endif %>

Request Properties and Methods BinaryRead(Count) ใช้ในการดึงข้อมูลที่บราวเซอร์ส่งไปยังเซิร์ฟเวอร์โดยวิธี POST โดยค่าที่ได้จะเป็นจำนวนไบต์ของข้อมูลที่ได้ทำการอ่าน รูปแบบ myBinArray = Request. BinaryRead(Count) <% Dim binread binread = Request. BinaryRead(Request.TotalBytes) %> PROPERTY TotalBytes ใช้ระบุจำนวนไบต์รวมที่จะส่ง ในการร้องขอข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ Request.TotalBytes <%myByteCount = Request.TotalBytes %>