จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ความหลากหลายของสัตว์
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
ความทุกข์ที่เกินทน จะหลอมคนให้ทนทาน
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ใบ Leaf or Leaves.
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของพะยูน.
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
13 อันดับ สัตว์น้ำจืดที่น่ากลัวที่สุดในโลก
ด้วงกว่าง.
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5

ปลากาแดง ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาวเรียว ส่วนท้องแบน ปากอยู่ในระดับแนวเดียวกับสันท้อง มีหนวด 4 เส้น ครีบหลังมีขนาด ถิ่นอาศัย บริเวณลุ่ม น.โขง แม่น้ำภาคกลาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาหาร กินตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนแมลงขนาดเล็ก ซากพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อย ขนาด ความยาวประมาณ 10 -11 ซม.

ปลาแป้น ลักษณะทั่วไป ขนาดเล็ก ตัวใสหรือสีขาวคล้ายสีข้าวเม่า มีครีบหลัง 2 อัน ครีบหลังอันแรก มีก้านครีบแข็งเป็นหนามแหลมอยู่ 7 ก้าน ครีบหลังอันที่สองมีเฉพาะก้านครีบฝอย ครีบก้นมีก้านครีบที่เป็นหนาม ถิ่นอาศัย อยู่ทั่วไปตามแม่น้ำลำคลอง พบมากที่บริเวณลุ่มน.แม่กลอง อาหาร กินจุลินทรีย์และตัวอ่อนของแมลงน้ำ ขนาด ความยาวประมาณ 3 - 6 ซม.

ปลาดี่งาม กา ลักษณะทั่วไป เป็นปลาน้ำจืดซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกับปลาสลิด กระดี่หม้อ กระดี่มุก และอยู่ในวงศ์เดียวกับปลาหมอไทย ถิ่นอาศัย มีอยู่ทั่วไปตามแหล่งน้ำ หนองบึง ลำห้วย ซึ่งมีพืชพันธุ์ไม้น้ำหนาแน่น อาหาร กินแมลงและสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ขนาด ความยาวประมาณ 15 ซ.ม.

ปลากดหิน ชื่ออื่น ๆ แขยงหิน ลักษณะทั่วไป ลำตัวค่อนข้างยาว ไม่มีเกล็ด หัวแบนราบลงเล็กน้อย ตามีผิวหนังใสปิดคลุม มีฟันซี่แหลมเล็ก ๆ อยู่บนขากรรไกร และเพดานปาก มีหนวด 4 คู่ มีรูจมูกข้างละหนึ่งคู่ แต่ละคู่อยู่ห่างจากกัน ครีบหลังและครีบหูมีหนามแหลม ลำตัวมีพื้นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีแทบสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มพาดขว้างลำตัว แถบที่ว่านี้มีขนาดโตกว่าช่วงสีพื้นตัว ขนาด และที่ตั้งของแถบเหล่านี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดและอายุของปลา ถิ่นอาศัย อยู่ตามลำธาร เช่น บริเวณปากน้ำโพ จ.นครสวรรค์ แม่น้ำวัง จ.ลำปาง น.แม่กลอง จ.ราชบุรี ฯลฯ อาหาร กินลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์น้ำที่มีขนาดเล็ก ขนาด ความยาวประมาณ 17 ซม.

ลักษณะทั่วไป มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้าง หัวมีขนาดเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ นัยน์ตาเล็ก ถิ่นอาศัย พบตามแม่น้ำลำคลองหนองบึงทั่วทุกภาค อาหาร พืชพันธุ์ไม้น้ำ ตัวอ่อนแมลง ซากสัตว์และพืชที่เน่าเปื่อย ขนาด ความยาวตั้งแต่ 15 - 35 ซม.

ปลาแรด ลักษณะทั่ว มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ อาศัยในน้ำที่มีออกซิเจนต่ำได้ รูปร่างด้านข้างแบน ส่วนกว้างของลำตัวไล่เลี่ยกับความยา ถิ่นอาศัย ในแม่น้ำและหนองบึงที่มีทางน้ำติดต่อกันกับแม่น้ำ อาหาร กินพืชแทบทุกชนิด ขนาด ความยาวประมาณ 20 - 60 ซม.

ปลากดหิน ลักษณะทั่วไป ลำตัวค่อนข้างยาว ไม่มีเกล็ด หัวแบนราบลงเล็กน้อย ตามีผิวหนังใสปิดคลุม มีฟันซี่แหลมเล็ก ๆ อยู่บนขากรรไกร และเพดานปาก มี ถิ่นอาศัย อยู่ตามลำธาร เช่น บริเวณปากน้ำโพ จ.นครสวรรค์ แม่น้ำวัง จ.ลำปาง น.แม่กลอง จ.ราชบุรี ฯลฯ อาหาร กินลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์น้ำที่มีขนาดเล็ก ขนาด ความยาวประมาณ 17 ซม.

ปลาชะโด ลักษณะทั่วไป ลำตัวเรียวยาวรูปทรงกระบอก ขณะเป็นปลาเล็กลำตัวจะมีแถบสีเหลืองอมส้มสดใส และมีแถบสีแดงหรือส้มปรากฎให้เห็น 1 แถบ ถิ่นอาศัย ในแม่น้ำ และอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย อาหาร กินสัตว์น้ำต่าง ๆ ขนาด ความยาวประมาณ 30 – 50 ซม.

ปลาตองลาย ลักษณะทั่วไป ขนาดค่อนข้างใหญ่ ลำตัวด้านข้างแบนมาก เกล็ดละเอียดครีบหลังและครีบหู มีขนาดไล่เลี่ยกัน ครีบท้องขนาดเล็กมาก ครีบก้นยาว เชื่อมติดกับครีบหาง ลำตัวสีขาวเงิน ถิ่นอาศัย น.โขงเป็นแหล่งน้ำแหล่งเดียวในโลกที่มีปลาชนิดนี้อาศัยอยู่ อาหาร กินปลา ลูกกุ้งและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ขนาด โดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 30 – 60 ซม.