วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology) 13 กรกฎาคม 2552
ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน และการสังเคราะห์ ATP ในปฏิกิริยาแสง พลังงานทำให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากระบบแสง II ไปยังระบบแสง I ในการนี้ทำให้เกิดการสร้าง ATP และ NADPH
ความสำคัญของปฏิกิริยาแสงก่อให้เกิด 1. การเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี (ATP และ NADPH) 2. การปลดปล่อยออกซิเจนสู่สิ่งแวดล้อม
โฟโตฟอสโฟริเลชัน (Photophosphorylation) เป็นกระบวนการสร้าง ATP จากการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากระบบแสง II ไปยังระบบแสง I ADP + Pi ATP + H2O แสง
ที่มา : http://ideonexus. com/wp-content/uploads/2009/01/electronchain ที่มา : http://ideonexus.com/wp-content/uploads/2009/01/electronchain.png
กระบวนการ Dark reactions - เกิดในสโตรมา ปฏิกิริยาแรก คือ RuBP CO2 + RuBP 2PGA Carboxylase จากนั้น PGA PGAL
เอนไซม์ Rubisco 2PGA +CO2 RuBP Rubisco + O2 +CO2 Carboxylation Phosphoglycolate + PGA +O2 Oxygenation + O2
การตรึง CO2 1. CO2 Fixation CO2 + RuBP 2(3-PGA) Rubisco
3. Regeneration of CO2 receptor (RuBP) 2. Reduction 3. Regeneration of CO2 receptor (RuBP)
ความเข้มแสงสูง, อากาศร้อน Photorespiration ความเข้มแสงสูง, อากาศร้อน ปากใบปิด CO2 ในใบต่ำ
เอนไซม์ Rubisco 2PGA +CO2 RuBP Rubisco + O2 +CO2 Carboxylation +O2 Oxygenation 2PGA Phosphoglycolate + PGA RuBP
http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
การตรึง CO2 ในพืช C4 http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
C3-Plant C4-Plant http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookPS.html
การนำผลผลิตจาก PS ไปใช้ประโยชน์ 1. น้ำตาลไทรโอสถูกเปลี่ยนเป็นแป้งไปเก็บไว้ในคลอโรพลาสต์ในเวลากลางวัน 2. เคลื่อนย้ายไปที่บริเวณไซโทพลาสซึมเพื่อสร้างเป็นซูโครสลำเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ปัจจัยภายในพืช 1. โครงสร้างของใบ 2. การสะสมน้ำตาลในเซลล์มีโซฟิลล์
ปัจจัยภายนอก 1. อุณหภูมิ 2. แสง 3. คาร์บอนไดออกไซด์
http://hyperphysics. phy-astr. gsu. edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm.gif
http://hyperphysics. phy-astr. gsu. edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/Biology/imgbio/kranzm.gif
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบลักษณะต่างๆของพืช C3, C4 และ CAM 1. ผลผลิตตัวแรกของการตรึง CO2 3-PGA OAA 2. เอนไซม์ตัวแรกที่ตรึง CO2 Rubisco PEP carboxylase 3. โครงสร้างของใบ ไม่มี คลอโรพลาสต์ ในเซลล์บันเดิลชีท มีคลอโรพลาสต์ ใน เซลล์บันเดิลชีท ใบอวบน้ำ
ของคาร์บอนที่ถูกตรึง 8. ประสิทธิภาพการใช้น้ำ 4. โฟโตเรสไปเรชัน ประมาณ 25% ของคาร์บอนที่ถูกตรึง จะสูญเสียออกไป ไม่เกิดการสูญเสีย คาร์บอนโดย โฟโตเรสไปเรชัน ไม่เกิด 5. ผลของก๊าซออกซิเจน ยับยั้งการตรึง CO2 ไม่ยับยั้งการตรึง CO2 6. CO2 Compensation point 0 -110 ppm 1-10 ppm 7. ผลผลิต ปานกลาง สูง ต่ำ 8. ประสิทธิภาพการใช้น้ำ