ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Advertisements

Photoshop Mr.Samer Chunton.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Group Acraniata (Protochordata)
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
โครโมโซม.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
Cell Specialization.
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
ALL-L1 ALL-L1 Acute Leukaemia
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
ระบบประสาท (Nervous System)
Engineering Graphics II [WEEK5]
โพรโทซัว( Protozoa ).
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
การผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior)
Plant Senescence -Program cell death (PCD)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ความหมายของชุมชน (Community)
7.Cellular Reproduction
Station 15 LE preparation and ESR
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เครื่องดูดฝุ่น.
Properties and Classification
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ประเภทของมดน่ารู้.
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
โลกและสัณฐานของโลก.
Reprod. Physio. of Domestic Animal
เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขบวนการสร้างตัวอสุจิ (Spermatogenesis) เกิดขึ้นใน Semimiferous tubule ระยะเวลา Bull 15 days Boar 9 days Ram 10 days Horses 12 days

ตำแหน่งที่สร้างตัวอุจิและการเคลื่อนย้ายภายในอัณฑะ

ปัจจัยควบคุมการสร้างตัวอสุจิ 1) Endocrine FSH ---> spermatogonia to primary spermatocytes LH -----> supporting cell และ การหลั่ง Testosterone Testosterone ---> primary spermatocytes to spermatozoa 2) External factors ฤดูกาล : = ช่วงแสง และอุณหภูมิ การจัดการ

การควบคุมการสร้าง ตัวอสุจิโดยฮอร์โมน

Spermatogenesis - เริ่มต้นจาก Type A Spermatogonia และพัฒนาตามลำดับ A0 -----> A1 -----> A2 ----> A3 ----> In A0 A1 Mitosis B1 ---->B2 Secondary spermatocyte Primary spermatocyte Spermatid Miosis

- Type A0 ถึง A3 : เป็นเซลล์มีขนาดใหญ่ แบน, อยู่ติดกับผนังของ Seminiferous tubule, nucleus รูปพระจันทร์เสี้ยว, chromatin granule ละเอียด - Type In : คล้าย A0-A3 แต่ chromatin granule จะหยาบ - Type B : มีการปรับเปลี่ยนรูปทรงของ nucleus ให้กลมและเล็กลง - 1o spermatocyte : chromosome 2n, เริ่มเคลื่อนออกจาก basement membrane, เริ่มแบ่งเซลล์แบบ miosis - 2o spermatocyte : chromosome 1n และเริ่มเปลี่ยนแปลงรูปทรงเป็น spermatid

(Axoneme or Fagella)

Spermiogenesis เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ Spermatid 4 ระยะ (phase) 1. Golgi phase : acrosomal granule ภายใน Golgi apparatus รวมตัวกัน แล้วเคลื่อนเข้าชิดส่วนหน้าของ nucleus ในขณะเดียวกัน centrioles 2 อัน ที่อยู่ทิศตรงข้ามกับ acrosomal granule เริ่มเคลื่อนเข้าชิด nucleus เพื่อสร้างส่วนหาง (flagellum) 2. Cap phase acrosomal granule กระจายตัวปกคลุมผิว spermatid 1/2-2/3 ของ nucleus distal centriole เริ่มยืดตัวและสร้าง axoneme

Golgi phase

Flagella Cap phase

นิวเคลียสยืดตัวยาวและแบนมากขึ้น 3. Acrosomal phase นิวเคลียสยืดตัวยาวและแบนมากขึ้น Spermatid หมุนตัวเพื่อให้ส่วน acrosome ไปชิดด้านผนังของท่อ seminiferous tubule และให้ส่วนหาง หันออกสู่ lumen Cap หรือ acrosome ปรับรูปร่างให้พอดีกับนิวเคลียส ซึ่งมี Sertoli cell เป็นแม่พิมพ์ Cytoplasm----> manchette Chromatoid body ------> annulus mitochondria เริ่มเปลี่ยนรูปร่างเป็น sheath ล้อมรอบ axoneme ที่บริเวณ middle piece ของส่วนหางอสุจิ

coarse fiber 9 อัน รอบ axoneme จาก neck ถึงสิ้นสุดส่วน principal piece 4. Maturation phase รูปร่างของ nucleus & acrosome แตกต่างกันตามชนิดสัตว์ nucleus ถูกล้อมรอบด้วย nuclear membrane, internal acrosomal membrane, acrosome body, external acrosomal membrane และ plasma membrane หรือ cytoplasmic membrane coarse fiber 9 อัน รอบ axoneme จาก neck ถึงสิ้นสุดส่วน principal piece annulus เคลื่อนต่ำลงไปอยู่จุดเชื่อมระหว่าง middle & principal piece mitochondria จับตัวกันแน่นขึ้น

Maturation phase

Maturation phase ต่อเนื่องกับ Spermiation

Cycle of the seminiferous epitherium (cross section) Spermiation ปลดปล่อยตัวอสุจิออกจาก Sertoli cells ภายใต้ อิทธิพลของ FSH Cycle of the seminiferous epitherium (cross section) Spermatogenic wave or wave of the seminiferous epithelium (ตามยาวของท่อ) Blood-testis barrier (Myoid layer & Sertoli cell junction)

Spermatogenic wave