มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
Advertisements

ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการนำร่อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มแรงงาน
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น

การเตรียมจังหวัดเสี่ยง เตรียมความพร้อมจังหวัด องค์ความรู้ การจัดระบบบัญชาการ ( ทุกด้าน ) เตรียมพร้อมทีม เฝ้าระวังสอบสวน/รักษา ส่งต่อ/ logistics /สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ ชุมชน 3 การติดตาม ส่งต่อข้อมูล แจ้งเตือนสถานการณ์ ให้การสนับสนุนด้านวิชาการ ประสานงานด้าน logistics ปัญหาอุปสรรค

การดำเนินการจังหวัดที่ระบาด สนับสนุนทีมจากเขต ( ช่วยสำนักระบาดกรณีจังหวัดเลย ) / ลงพื้นที่กรณีรายแรกๆของพื้นที่ใหม่ ประสานเรื่อง logistics เช่น วัคซีน DAT การจัดหา media การตัดสินใจทางวิชาการ ( ปรึกษากรม ) การวินิจฉัยเบื้องต้นในพื้นที่ใหม่

4 ทีมในระดับจังหวัด 1 2 4 3 Primary prevention & communication สื่อสารกับผู้นำ โรงเรียน อสม. และชุมชน รณรงค์สุขอนามัยส่วนบุคคล 0-5 ปี vaccination X-Ray 1 Investigation, Lab, Dx, surveillance เตรียมระบบเฝ้าระวัง เตรียมการสอบสวนโรค Prophylaxis contacted cases 2 4 3 Back up เตรียม เวชภัณฑ์ วัคซีน สนับสนุนการดำเนินงาน Clinical care and mop up เตรียมการวินิจฉัย, Lab Treatment: DAT, Roxitromycin เตรียมห้องแยก, OPD แยกตรวจ Mop up

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (หนองบัว) ตรวจความครอบคลุมของวัคซีน ฉีด Diphtheria toxoid เจ้าหน้าที่ทุกคน 2 เข็ม สร้างเสริมภูมิคุ้มกันใน เด็ก 0-5 ปี (DPT) ที่ยังได้รับไม่ครบ เตรียมฉีด เด็ก ป.1 และ ป.6 (dT) เก็บตก ให้ครบ 100% เด็ก ป.2-ป.5 กระตุ้น 1 เข็ม (dT) ต่างด้าว ตามกลุ่มอายุ

Mop up

บทเรียน จ.หนองบัวลำภู การพบ cases มาจาก ระบบที่เข้มแข็งและการเตรียมความพร้อม การสอบสวนโรค (ทีม 2) เป็นภาระที่หนัก แนวทางการดำเนินงานบางอย่างไม่ชัดเจน แนวทางการดำเนินงาน เลือกแบบ ดำเนินการเป็นรายๆ ร่วมกับการเฝ้าระวังต่อเนื่อง ในพื้นที่ระบาด

ปัญหาและข้อเสนอแนะจากจังหวัดเชิงนโยบาย จากเลย หนองบัว ปัญหาและข้อเสนอแนะจากจังหวัดเชิงนโยบาย จากเลย หนองบัว National policy การให้ immunization ในผู้ใหญ่ การใช้ dT แทน TT ในการปฏิบัติ : การจัดหาในพื้นที่ ราคา ค่าใช้จ่ายการรักษาในกรณีไม่มีเลขบัตรประชาชนไทย

ปัญหาและข้อเสนอแนะจากจังหวัด เชิงเทคนิค/วิชาการ การหากลุ่มเสี่ยงเพื่อ ให้ immunization เช่น ต่างด้าว : ติดตามเข็มสองลำบาก แนวทาง mop up / catch up การประเมินความครอบคลุมการกระตุ้น dT แนวทางที่ศึกษาได้ง่ายและปฎิบัติในแต่ละระดับ เช่น -ยาและทางเลือก ศักยภาพห้องปฏิบัติการ

ขอขอบคุณ สสจ เลย สสจ หนองบัวลำภู สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป ผู้ทรงคุณวุฒิกรมควบคุมโรค