ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ วันที่ 27 มกราคม 2557 นางฐิติมา โกศัลวิตร รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี
ประเด็นการประชุม เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข สรุปผลจากประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานอำเภอส่งเสริมป้องกันควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2557 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557 ระดับเขตสุขภาพ ระดับกระทรวง ตัวชี้วัด ด้านบริหาร ตัวชี้วัด คุณภาพบริการ ตัวชี้วัดกลุ่มวัย
ความเชื่อมโยงการดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557 ความเชื่อมโยงการดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ไม่น้อยกว่า 95) 2. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกิน 13) ร้อยละของร้านค้าไม่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้กับบุคคลที่อายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ลดลงร้อยละ 10) มาตรการ 1. พัฒนากฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / ผลักดันบังคับใช้/ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. พัฒนาศักยภาพเยาวชนการเฝ้าระวัง ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 3. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อ ปชก.แสนคน) จำนวนอำเภอนำร่องที่มีการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนแบบบูรณาการ ผ่านกลไกการดำเนินงานของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง (76 อำเภอ/ 76 จังหวัด) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศอุบัติเหตุทางถนน 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เครือข่าย ให้เข้มแข็ง /สื่อสารความเสี่ยงถึงผลกระทบของอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค ความเชื่อมโยง (ต่อ) การดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่ เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 4. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) ร้อยละประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60 – 70 ปีที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (ไม่เกิน 14.54) ร้อยละของประชาชนอายุ (60) 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 90) 6. ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ร้อยละของเด็ก 0 -2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ไม่น้อยกว่า 95) 7. ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ประเมินรับรองศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 8. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ Youth friendly service?? 9. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50) ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (80)
ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค ความเชื่อมโยง (ต่อ) การดำเนินงานของกรมควบคุมโรค สู่ เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 10. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) ร้อยละของอำเภอที่มี SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) มาตรการ 1. พัฒนาขีดความสามารถ SRRT เฉพาะทีมตอบสนองปัญหาพื้นที่ 2. ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไปยังหน่วยบริการสาธารณสุขเอกชน / โรงงาน 11. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72) ?? 12. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 1. พัฒนาเกณฑ์คุณภาพ 2. ติดตามประเมินผลเสริมส่วนขาดให้จังหวัดไปติดตามประเมินผล รพ. 13. หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ร้อยละ 20 14. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้างงบลงทุนสามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ 1 (เท่ากับ 100) Applicable with all DDC units 15. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปีงบประมาณ 2557 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94)
จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 NHL4 ผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกัน ควบคุมโรค : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” HL1 การพัฒนาเชิงระบบ HL101 กลไกการเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน HL102 การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐาน และการประเมินเทคโนโลยี HL103 การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ HL2 โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง HL201 ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน HL202 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง HL203 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง HL204-205 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย HL3 โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม HL301-302 วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ในภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม) HL4 โรคติดต่อ HL401 ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง HL402 ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย HL403 ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ HL404-405 ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง : หัด , มือ เท้า ปาก จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม
ร้อยละอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 80) ตัวชี้วัดเป้าหมายการดำเนินงาน ตามภารกิจที่เป็นจุดเน้นของกรมควบคุมโรค” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ร้อยละอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 80) อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ปี 56 ไม่เกิน 37 ต่อแสน ประชากร, ปี 57 ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร, ปี 58 ไม่เกิน 0.5 ต่อแสนประชากร) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (ลดลง 2 ใน 3) อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ลดลงไม่เกินค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปีที่ผ่านมา (Proxy indicator) อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น (ไม่เกิน10) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำอายุ 0 - 15 ปี (ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน) อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพภาคเกษตร (15 ต่อประชากร UC แสนคน)
แนวคิดการดำเนินงานระหว่าง DHS และ DCCD 1. คณะกรรมการ SRRT 2. ระบบระบาดวิทยาที่ดี อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ 3 การวางแผนงาน 4. การระดมทรัพยากร 5. มีผลสำเร็จของ การควบคุมป้องกันโรค
ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ(คลินิก NCD คุณภาพ) สรุปผลจากประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน อำเภอส่งเสริมป้องกันควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2557 20 – 22 พฤศจิกายน 2556 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์โฮเทล แอนด์ คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ(คลินิก NCD คุณภาพ)
ร่วมกันกำหนดเป้าหมายดำเนินงาน แผนงาน กลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ร้อยละของหน่วยบริการในกระทรวงสาธารณสุขประเมินตัวเองผ่านเกณฑ์ รพศ. รพท. รพช. รพสต. 70 ร้อยละ รพศ./รพท. ได้รับการประเมินตามเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ รพศ. รพท. - 100 ร้อยละ รพช.ได้รับการประเมินตามเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ รพช. 30 60 80
แผนประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ปี 57 เดือน วันที่ พื้นที่ กุมภาพันธ์ 3-7 *** 10-13 17-21 24-28 มีนาคม 10-14
เป้าหมายการดำเนินงาน เขตฯ 8 ,10 ร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลทุกแห่ง (100 แห่ง) จังหวัด จำนวน รพ ร้อยละ 30 อุบลราชธานี 26 (คิด 30%= 8 ) รพศ. 1 S 1 M1+2 = 4 F2 = 2 ศรีสะเกษ 22 คิด 30% =7) รพท. 1 M2 3 F1 = 2 F2 = 1 ยโสธร 9 คิด 30% =3 ) รพท.(s) 1 F1 = 1 อำนาจเจริญ 7 (คิด 30% =2) รพท.(s) 1 F2 = 1
เป้าหมายการดำเนินงาน (ต่อ) จังหวัด จำนวน รพ ร้อยละ 30 มุกดาหาร 7 (คิด 30% =2) รพท. 1 F2 = 1 สกลนคร 18 (คิด 30% =5) รพศ.(A) 1 M1+2 =2 F1 = 1 F2 = 1 นครพนม 11 (คิด 30% =3) M2 1 F1= 1 100 30
ด้านคณะกรรมการประเมิน ฯ จัดให้มีตัวแทนแต่ละจังหวัด สร้างเป็นทีมประเมินรับรอง ในแต่ละพื้นที่ โดยมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเลขา ผลจากการประชุม ได้ ร่าง คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ที่มาจากตัวแทนแต่ละจังหวัด แต่งตั้งโดยผู้ตรวจราชการ ร่างแผนการออกประเมินรับรอง ในแต่ละพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ สคร.7อบ.
ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ วันที่ 6-7 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี กำหนดเป้าหมาย ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการ(รพศ/รพท/รพช) ประชุมกลุ่มเครือข่ายตามเขตรับผิดชอบ แต่ละ สคร.
ผลสรุป เขต สคร.7 อบ. ให้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ในระดับพื้นที่ ของ สคร.7 อบ. เพื่อดำเนินการประเมินแต่งตั้งโดยผู้ตรวจราชการ กำหนดอำเภอกลุ่มเป้าหมายที่จะลงทำการประเมินรับรอง ให้สรุปแผนการประเมินรับในแต่ละอำเภอให้ชัดเจน( วัน เวลา ) ให้ระบุตัวกรรมการที่จะเป็นผู้ดูรายละเอียดในแต่ละตัวชี้วัด ให้มีการประชุมกรรมการทุกคน เพื่อพิจารณาเกณฑ์การประเมิน ให้จัดประชุม คณะกรรมการอีกครั้ง ในวันที่ 17 มกคราคม 2557
วันที่ 23 มกราคม 2557 ประชุมพัฒนาเกณฑ์การประเมินรับรองคลินิก NCD คุณภาพ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ได้พัฒนาเกณฑ์ ตามรายละเอียด