โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ความหมายและกระบวนการ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ห้องปฏิบัติการอ้างอิงในการตรวจวินิจฉัยโรคหัด ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (WHO Measles RRL in SEAR) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด 2553-2563 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด 2553-2563 ความเป็นมา พ.ศ. 2531 ลงนามในสัญญาความร่วมมือกวาดล้างโปลิโอ พ.ศ. 2535 เริ่มระบบเฝ้าระวัง ผู้ป่วยที่มีอาการอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis) พ.ศ. 2537 เริ่มรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอทั่วประเทศประจำปี ซึ่งต่อมาลดเป้าหมายลงเหลือเฉพาะกลุ่มเสี่ยง พ.ศ. 2540 รายงานผู้ป่วยโปลิโอรายสุดท้าย พ.ศ. 2547 องค์การอนามัยโลกเข้าตรวจสอบการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอในประเทศไทย ผลเป็นที่น่าพอใจ

พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอ การกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือ ร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2010 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการ กวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และ ให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มี กรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

วัตถุประสงค์การดำเนินการ รักษาสถานะปลอดโรคโปลิโอในประเทศไทย ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยลงเหลือไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี 2563 (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558) 1 2

เป้าหมายการดำเนินงานใน 5 ปีแรก (2553-2558) การกวาดล้างโปลิโอ ให้วัคซีนโปลิโอตามระบบปกติ อย่างน้อย 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกตำบล เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วย AFP ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด และเก็บอุจจาระส่งตรวจตามเกณฑ์ 14 วันหลังวันเกิดอาการอัมพาต สอบสวนและควบคุมโรคผู้ป่วย AFP กลุ่มเสี่ยงสูงตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สอบสวนทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคในรายที่กำหนดภายใน 72 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย) รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กในพื้นที่เสี่ยงทั่วประเทศ ให้ได้ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในตำบลที่ดำเนินการ 1 2 3 4

Polio case and OPV3 coverage, Thailand, 1961 - 2011 OPV in EPI in 1977 ประเทศไทยไม่มีโปลิโอมาตั้งแต่ปี 2540 (1997) และเราดำเนินการตามมาตรการกวาดล้างโปลิโอมาโดยตลอด รวมทั้งการรณรงค์ให้วัคซีนประจำปีซึ่งองค์การอนามัยโลกให้เป็น option The last case 1997 NID 1994 sNID 2000

กลุ่มเป้าหมาย ประเภทที่ 1 กรุงเทพ และ 4 จังหวัดชายแดนใต้ ประเภทที่ 2 อำเภอที่ติดชายแดนพม่า ประเภทที่ 3 อำเภอที่มีชุมชนชาวพม่าขนาดใหญ่ ประเภทที่ 4 อำเภอที่มีรายงานการเกิดโรคคอตีบ (1 ราย) หรือ หัด (10 ราย) ในเด็กอายุ 0-5 ปี

พื้นที่เป้าหมายในการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ พ.ศ. 2555 เขต 6 และ 7 ไม่มีพื้นที่รณรงค์ พื้นที่ สคร. จังหวัด อำเภอ ๕   ๑ นครราชสีมา ครบุรี๔ โชคชัย๔ ๒ บุรีรัมย์ เมือง๔ ละหานทราย๔ ๓ สุรินทร์ สำโรงทาบ๔ บัวเชด๔ ๔ ชัยภูมิ ไม่มีพื้นที่รณรงค์

กำหนดวันรณรงค์ให้วัคซีนเสริม ปี 2555    เดือน พฤศจิกายน  2555 อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 รอบ 1 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 วันลอยกระทง 29 30 ธันวาคม   2555 1 วันเอดส์โลก 5 วันเฉลิมฯ 10 วันรัฐธรรมนูญ 12 รอบ 2 14 25 คริสต์มาส 28 31 วันสิ้นปี

Situation 2012: Trouble in Nigeria, Pakistan, Afghanistan

การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้งเครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง 1 2 3 4

Confirmed measles 2012