Measles Elimination, Thailand

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การป้องกันควบคุมอหิวาตกโรค ระดับจังหวัด ของ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
ระบาดวิทยาและ SRRT.
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
โครงการกำจัด โรคหัด Started. DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายใน ประเทศไทย ( พ. ศ *) D5 G2.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical.
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ เป้าหมาย ลดอุบัติการณ์ของโรคหัดในประเทศไทยให้ เหลือไม่เกิน  5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี 2558  1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2563

Measles elimination: WHO definition การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อ ภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด ติดตามสถานการณ์โรค บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว

ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากร แสนคน ระดับประเทศ มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง มีการตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยเฉพาะราย มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้ พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทาง คลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้อง เดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อน สนิท

การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

การสอบสวนโรค เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการ ป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2) www.boe.moph.go.th www.boe.moph.go.th

แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ME1 form)

แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)

ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012 Bureau of Epidemiology Ministry of Public Health

Reported Measles, 2011 – May 2012 R506* Measles Elimination Number % of R506 2011 3,018 617 20.4% 2012 (to May) 2,710 1,006 37.1%

Number of reported measles by month, Thailand, 2011 - 2012

Number of reported measles by province, 2011 Measles outbreak ปัตตานี นราธิวาส ต.ค. - ธ.ค. Rubella outbreak ปัตตานี ต.ค. Rubella outbreak ก.ย. – ต.ค. Measles outbreak ก.ย. – ต.ค. Measles outbreak จ.ลำปาง ก.ย. – ต.ค. Rubella outbreak น่าน พ.ค. Rubella outbreak ธ.ค. Rubella outbreak สมุทรปราการ ก.พ Number of cases Number of cases R506 (75 prov) Measles elimination (41 Prov)

Number of reported measles by province, 2012 Measles outbreak ม.ค. R/O Measles outbreak มิ.ย. Measles outbreak ก.พ. Measles outbreak ก.พ. Number of cases Number of cases Measles cluster เม.ย. R506 (69 prov) Measles elimination (50 Prov)

Number of reported measles under 15 yr-old by province, Jan – May 2012 Number of cases Number of cases R506 Measles elimination

Number of reported measles age 1-5 yr-old by province, Jan – Mar 2012 Number of cases Number of cases R506 Measles elimination

Confirmed Measles outbreak, 2012 Province Place Age (yr) Race onset %AR 1 Chiang Rai School - Community 0 - 12 Jan NA 2 Petchaboon Chicken slaughtering factory 18 – 25 Myanmar Feb 1.8 3 Kanchanaburi Prison 22 – 34, 40 Thai 0.9 4 Phuket Foreign tourist (Europe) Adult Apr 4 ราย 5 Chiang Mai (R/O measles) School 6 – 9 June 8

Proportion of cases by age group Age group (yr) Number of cases (per 100,000 pop) R506 Reported ME (Confirmed case) 0 - 4 1052 (26.8) 97 (2.5) 5 - 9 487 (12.0) 51 (1.3) 10 - 14 221 (4.9) 33 (0.7) 15 - 24 512 (5.3) 71 (0.7) 25 - 34 315 (3.0) 32 (0.3) >35 142 (0.4) 8 (0.1) Total 2,729 (4.3) 292 (0.5)

Vaccination history of reported cases in 2011 Age 1 – 6 ปี Confirmed Probable suspected ได้รับ 1 ครั้ง 16 1 31 ไม่เคยได้รับ ไม่ทราบ 24 20 27 รวม 40 21 58 Age 7 – 12 ปี Confirmed Probable suspected ได้รับ 1 ครั้ง 1 4 ได้รับ 2 ครั้ง 3 17 ไม่เคยได้รับ ไม่ทราบ 12 14 10 รวม 15 31 Measles elimination database

Reported Myanmar cases in ME, 2012 Province Number of cases สมุทรสาคร 31 เพชรบูรณ์ 23 ตาก 16 ชุมพร 15 ราชบุรี 12 กาญจนบุรี 11 เชียงราย 6 จังหวัดละ 1 ราย .... Total 130

สรุปสถานการณ์โรคหัด ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่าง ต่อเนื่อง และมีการระบาดเป็นกลุ่มใหญ่ประปราย ยังมีกลุ่มอายุที่ไม่มีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ 20 – 30 ปี โดยเฉพาะแรงงานต่างด้าว ยังมีพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ทำให้เกิดการระบาดในเด็ก การพบโรคหัดในสัดส่วนที่สูงในกลุ่มเด็ก ทั้งจาก รายงาน 506 และ ME Measles vaccine เข็มที่ 1 มีความครอบคลุมต่ำ / ภูมิคุ้มกันลดลง (พ.ศ. 2554 มี 30 confirmed ที่ได้วัคซีนแล้ว 1 ครั้ง)

สรุปและข้อเสนอแนะต่อระบบเฝ้าระวัง มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้ มาตรฐานทั้ง NIH และ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ยังขาดการประสานข้อมูลระหว่าง SRRT กับงาน ควบคุมโรค ควรมีการประเมินข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีน จังหวัดที่มีอัตราป่วยในเด็กสูง หรือ มีการระบาดในโรงเรียน

Thank you for your attention