เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

Solar Storm พายุสุริยะ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ปะการังฟอกขาว Coral Reef Bleaching
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
COMPUTER.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
Demonstration School University of Phayao
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication) นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล 48402603 เทคโนโลยีพลังงาน

1.ความหมายของพายุสุริยะ(Solar storm) 2.ผลที่เกิดขึ้นที่มีต่อโลกและกิจกรรมของมนุษย์ -การเกิดปรากฏการณ์ออโรรา (aurora) -ผลกระทบต่อระบบไฟฟ้า -ผลกระทบต่อดาวเทียม/ยานอวกาศ -ผลกระทบต่อระบบการสื่อสารคลื่นวิทยุ/ระบบการเดินเรือ/ ระบบนำทาง -ผลกระทบต่อท่อขนส่ง -ผลกระทบต่อมนุษย์อวกาศ 3.การป้องกัน

1.ความหมายของพายุสุริยะ(Solar storm) เกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงของผิวดวงอาทิตย์ในบางขณะ ซึ่งจะส่งผลให้มีเปลว ก๊าซร้อน พุ่งออกจากผิวดวงอาทิตย์ และในบางครั้งเปลวก๊าซอาจจะพุ่งไกลถึงล้านกิโลเมตร อนุภาคพลังงานสูงที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์นั้น อยู่ในรูปของอนุภาคประจุไฟฟ้า เช่นอิเล็กตรอน และโปรตอน เราเรียกสายธารของอนุภาคที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องนี้ว่า ลมสุริยะ และในบางครั้ง ลมสุริยะก็อาจทวีความรุนแรงกว่าปกติหลายเท่า เรียกว่า พายุสุริยะ

2.ผลที่เกิดขึ้นที่มีต่อโลกและกิจกรรมของมนุษย์ การเกิดปรากฏการณ์ออโรรา (aurora)             อนุภาคที่ผ่านเข้ามาในบรรยากาศโลกจะชนกับก๊าซที่อยู่ในบรรยากาศ ทำให้ก๊าซเหล่านั้นเกิดการแตกตัวและเรืองแสง เห็นเป็นแนวแสงสว่างหลากสีในท้องฟ้ายามค่ำคืน พบได้ในบริเวณละติจูดสูง ๆ แต่อาจพบได้ในบริเวณละติจูดตอนกลางถ้าเหตุการณ์ที่เกิดบนดวงอาทิตย์มีความรุนแรง การเกิดปรากฏการณ์ออโรรา

ผลกระทบต่อระบบไฟฟ้า อนุภาคที่ถูกสนามแม่เหล็กโลก ดักจับไว้ ทำให้เกิด กระแสไฟฟ้า (ring current) และสนามแม่เหล็กในชั้น บรรยากาศ สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นนี้จะเหนี่ยวนำ ไหลลงสู่พื้นและทำให้เกิดคววามเสียหายแก่ ตัวนำ หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าส่งผลให้ระบบไฟฟ้าขัดข้อง

ผลกระทบต่อดาวเทียม/ยานอวกาศ - ส่งผลให้ดาวเทียมเคลื่อนที่ช้าลง - ลดประสิทธิภาพและอายุการใช้งานของ อุปกรณ์ที่เป็นสารกึ่งตัวนำในแผงเซลล์สุริยะ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดพลังงานของดาวเทียมและ ยานอวกาศ - เกิดการสะสมประจุที่ผิวด้านนอกของยาน ถ้าอนุภาคที่ผิวด้านนอกมีจำนวนมากเกินไป จะทำให้มีความต่างศักย์ระหว่างผิวด้านในกับผิวด้านนอกสูงมาก ผิวด้านนอกก็จะคายประ จุสู่ด้านในอย่างรวดเร็ว ทำให้วัสดุที่ใช้ทำตัวยานอวกาศมีความเปราะมากขึ้น

- อนุภาคบางส่วนที่สามารถทะลุผ่านเข้าไปได้ ก็จะเข้าไปรบกวนการทำงาน             - อนุภาคบางส่วนที่สามารถทะลุผ่านเข้าไปได้ ก็จะเข้าไปรบกวนการทำงาน ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยความจำ ระบบการสื่อสารกับภาคพื้นดิน ส่งผลให้ ทำงานผิดพลาดหรือเสียหายได้

ผลกระทบต่อระบบการสื่อสารคลื่นวิทยุ/ระบบการเดินเรือ/ระบบนำทาง            

ผลกระทบต่อท่อขนส่ง Oil & Gas Pipelines Alaska Pipeline ท่อขนส่งโดยทั่วไปทำด้วยวัสดุที่นำไฟฟ้า ดังนั้น สนามแม่เหล็กก็สามารถไหล ผ่านท่อเหล่านี้ และเร่งให้เกิดการผุกร่อนหรือเกิดสนิมได้เร็วขึ้น วันที่4มิถุนายน 1989 ท่อส่งก๊าซเกิดการระเบิดระหว่างการส่งไปไซบิเลีย ทำให้คนตายประมาณ 500 คนจากเหตุการณ์นี้ทำให้ท่อส่งปิโตเลียมของอาลาสก้าถูกสร้างขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีที่ทำให้เกิดการเหนี่ยวนำกระแสน้อยที่สุดเรียกว่า modern pipeline engineers

ผลกระทบต่อมนุษย์อวกาศ เมื่อดวงอาทิตย์มีการปลดปล่อยอนุภาคจำนวนมากขึ้น นักบิน อวกาศหรือมนุษย์อวกาศจะมีโอกาสได้รับ ปริมาณรังสีเพิ่มขึ้น และมีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง

การป้องกัน   ควรมีการสำรวจทรงกลมดวงอาทิตย์ เพื่อให้เข้าใจวงสภาพวงจรสุริยะที่จะส่งลมสุริยะให้โลกและควรที่จะมีการคาดการล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดพายุสุริยะเมื่อใด เพื่อจะได้รับมือกับมหันตภัยได้ทัน