Mind map (From Wikipedia, the free encyclopedia) A mind map is a diagram used to represent words, ideas, tasks or other items linked to and arranged radially around a central key word or idea. It is used to generate, visualize, structure and classify ideas, and as an aid in study, organization, problem solving, decision making, and writing.
It is an image-centered diagram that represents semantic or other connections between portions of information. By presenting these connections in a radial, non-linear graphical manner, it encourages a brainstorming approach to any given organizational task, eliminating the hurdle of initially establishing an intrinsically appropriate or relevant conceptual framework to work within. A mind map is similar to a semantic network or cognitive map but there are no formal restrictions on the kinds of links used.
Mind map guidelines Tony Buzan suggests using the following foundation structures for Mind Mapping: Start in the center with an image of the topic, using at 3 colors Use images, symbols, codes, and dimensions throughout your Mind Map. Select key words and print using upper or lower case letters. Each word/image must be alone and sitting on its own line.
The lines must be connected, starting from the central image The lines must be connected, starting from the central image. The central lines are thicker, organic and flowing, becoming thinner as they radiate out from the centre. Make the lines the same length as the word/image. Use colors – your own code – throughout the Mind Map. Develop your own personal style of Mind Mapping. Use emphasis and show associations in your Mind Map. Keep the Mind Map clear by using radial hierarchy, numerical order or outlines to embrace your branches.
ไม่ควรใช้กระดาษที่มีบรรทัด เพราะเส้นบรรทัดจะมาบีบความคิดของเรา ถ้ามีแต่เป็นกระดาษที่มีเส้น ควรให้เส้นบรรทัดอยู่ในแนวตั้ง อย่าให้เป็นแนวนอน ไม่ควรใช้กระดาษที่มีข้อความบางส่วนอยู่เขียนเส้นโยง “ความคิดใหม่” ที่ขยายความหรือแตกออกมาจาก “ความคิดหลัก” ในลักษณะที่แผ่ขยายหรือแผ่เป็นรังสีออกไปจากความคิดหลัก เป็นกิ่งก้านสาขา พยายามมองหาความสัมพันธ์ระหว่างความคิดต่างๆที่พลั่งพลูออกมาจากสมองของเราหรือของกลุ่ม เราอาจใช้สัญลักษณ์ที่สะท้อนความหมายของความคิดนั้นๆ
ควรเขียนอย่างรวดเร็ว ไม่ควรหยุดชะงักชั่วคราว เพราะจะทำให้การคิดหยุดไปด้วย พยายามให้ความคิดไหลออกมา เขียนข้อความออกมาก่อน อย่ากังวลกับการประดิษฐ์คำ(edit) มากนักเพราะจะขัดขวางกระบวนการคิด ถ้าคิดอะไรไม่ออกจริงๆ ก็ให้มองมาดูว่าเราได้คิดอะไรไปแล้วบ้าง เว้นที่ว่างไว้ให้มากพอ เพื่อเพิ่มความคิดใหม่ที่คิดได้ในภายหลัง หรือทำความคิดในให้เด่นขึ้นมาหากพบว่ามันมีความสำคัญมาก หรืออาจตั้งคำถาม ข้อสงสัยเพิ่มเติม จึงเป็นการดีที่ควรจะเว้นที่ว่างในกระดาษไว้ก่อน เราอาจใช้ปากกาสี หรือสัญลักษณ์เพื่อจับกลุ่มย่อยๆ มารวมกัน