กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา9.00-12.00 น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
หน่วยโรคข้อและโรคภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
โรคเบาหวาน Diabetes.
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา9.00-12.00 น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร บุญทิพย์ สิริธรังศรี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Email: boontip.sir@stou.ac.th; boontip@gmail.com

ดอกลำดวน คือ สัญลักษณ์ผู้สูงอายุไทย หมายถึง มีความคงทนและมีกลิ่นหอมนาน

เคล็ดลับนำผู้สูงอายุสุขภาพดี (Boontip’s model) 7 อ : อากาศดี อาหารเหมาะสม อารมณ์แจ่มใส ออกกำลังกายต่อเนื่อง อบายมุขหลีกเลี่ยง อุบัติเหตุป้องกัน อ้วนควรลด 3 ส : สรรหายาให้ดี สังเกตอาการ สุขภาพตรวจเช็ค หลับสบาย ถ่ายสะดวก

1. อากาศดี

- หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด - หาโอกาสได้รับอากาศบริสุทธิ์ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคได้ อาทิสวนสาธารณะใกล้ๆ สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ - การปรับภูมิทัศน์ภายในบ้านให้ปลอดโปร่ง สะอาด อากาศถ่ายเท สะดวกมีการปลูกต้นไม้ จัดเก็บสิ่งปฏิกูล จะช่วยลดการ แพร่กระจายของเชื้อโรค และสามารถช่วยป้องกันโรคภูมิแพ้หรือ หอบหืดได้ - หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด

2. อาหารเหมาะสม

เนื่องจากกิจกรรมที่ลดลง ทำให้การใช้พลังงานน้อยลง เนื่องจากกิจกรรมที่ลดลง ทำให้การใช้พลังงานน้อยลง - ลดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมัน - เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลา - เพิ่มแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สังกะสี และเหล็ก นม ถั่วเหลือง ผักผลไม้ ธัญพืชต่างๆ - ควรกินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนประเภทผัด ทอด จะช่วยลดปริมาณไขมันในอาหารได้ - หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัด เค็มจัด - ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อย 6 - 8 แก้วต่อวัน

3. อารมณ์แจ่มใส

วิธีการสร้างอารมณ์แจ่มใส - ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา - คิดในทางบวก - อยู่อย่างพอเพียง - ผ่อนคลายความเครียด : ทำกิจกรรมที่ชอบ เช่น ร้องเพลง เล่นไพ่นกกระจอก - กิจกรรมสันทาการ งานอดิเรก - กิจกรรมกลุ่มในชุมชน - เพิ่มคุณค่าให้ตน : จิตอาสา งานพัฒนา

4. ออกกำลังกายต่อเนื่อง

ประโยชน์ของการออกกำลังกายต่อเนื่อง http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/bloodheartandcirculation.html

- ออกกำลังกายแบบแอโรบิค 30 นาทีต่อครั้ง สัปดาห์ละ 3 -4 ครั้ง เป็นประโยชน์ต่อหัวใจและหลอดเลือด (หากไม่มีโรคประจำตัว) - ขั้นตอนการออกกำลังกาย warm up เตรียมความพร้อม โดยค่อยๆ เริ่ม ยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่ม ประมาณ 5 นาที Aerobic เพิ่มความหนักขึ้นจนถึงระดับที่ต้องการ และทำอย่างต่อเนื่อง จนถึงระยะเวลาที่ต้องการ ประมาณ 20 นาที cool down ค่อย ๆ ลดลงช้า ๆ และค่อย ๆ หยุด เพื่อให้ร่างกายและหัวใจได้ปรับตัว ประมาณ 5 นาที

วิธีการที่เซลล์ได้รับออกซิเจนมากๆ และบริหารปอด วิธีการที่เซลล์ได้รับออกซิเจนมากๆ และบริหารปอด - หายใจเข้าออกลึกๆ โดยเฉพาะตื่นนอน - หายใจเข้าหน้าท้องขยาย นั่นหมายถึงอากาศเข้าไปถึงชายปอด - หายใจออกหน้าท้องแฟบ นั่นหมายถึง การขับกาซคาร์บอนไดออกไซต์ออกจากปอดให้มากที่สุด ลดการคั่งของกาซคาร์บอนไดออกไซต์

2 - 4 ช่วยเสริมการขับถ่าย

5. อบายมุขหลีกเลี่ยง โดยเฉพาะหลีกเลี่ยงบุหรี่ และของมึนเมา เช่น สุรา - ลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรคได้ - ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา - ช่วยป้องกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น

6. อุบัติเหตุป้องกัน เนื่องจากกระดูกเสื่อม ลานสายตาลดลง - เลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและปัญหาที่มีอยู่ - ส่งเสริมสุขภาพให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรง - ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้ลดความเสี่ยงต่อการหกล้ม หรือการเกิดอุบัติเหตุ

7. อ้วนควรลด - ปัญหาการหกล้ม 7. อ้วนควรลด โดยการควบคุมอาหารและออกกำลังกาย - ขาดความคล่องตัว - ปัญหาการหกล้ม - ความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น หากไม่ได้ผลอาจต้องใช้ยาช่วย

รู้ได้อย่างไรว่าอ้วน การคำนวณจากดัชนีมวลกาย หรือ BMI (body mass index) สูตรคำนวณหา ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำหนักตัว(กิโลกรัม)/ส่วนสูง (เมตร)2 การแปลผล ถ้าน้ำหนักตัวเกิน ค่า BMI จะอยู่ระหว่าง 23 - 24.9 กิโลกรัม/เมตร2 แต่ถ้าอ้วน ค่า BMI จะตั้งแต่ 25 กิโลกรัม/เมตร2 ขึ้นไป ตัวอย่าง ผู้สูงอายุ หนัก 67 กิโลกรัม สูง 160 เซนติเมตร ดัชนีมวลกาย(BMI) = 67/(1.6) 2 = 26.17 ถือว่าเข้าข่ายอ้วน

8. สรรหายาดี - ปรึกษาเภสัชกร หากประสงค์ซื้อยา หรือเจ็บป่วยเล็กน้อย 8. สรรหายาดี เนื่องจากผู้สูงอายุประสิทธิภาพการทำงานของตับลดลง และไตกำจัดยาได้ยาก - ปรึกษาเภสัชกร หากประสงค์ซื้อยา หรือเจ็บป่วยเล็กน้อย - พบแพทย์เมื่อทานยา 2-3 วัน อาการไม่ดีขึ้น - ไม่ใช้ยาเดิมที่เก็บไว้มาใช้รักษาอาการที่เกิดใหม่ - ไม่รับยาจากผู้อื่นมาใช้

9. สังเกตอาการ สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย อาทิ - การคลำพบก้อน และก้อนโตเร็ว - มีแผลเรื้อรัง - มีปัญหาการกลืนอาหาร กลืนติด กลืนลำบาก - ท้องอืดเรื้อรัง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด - ไอเรื้อรัง ไข้เรื้อรัง - เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก - ถ่ายอุจจาระผิดปกติ มีอาการท้องผูก หรือท้องเสียเรื้อรัง - ท้องผูกสลับท้องเสียเป็นประจำ ให้พบแพทย์

10. สุขภาพตรวจเช็ค

ตรวจสุขภาพทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี ช่วยลดปัญหาการเจ็บป่วย เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็งลำไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และยังมีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุด้วย

ขอขอบคุณ 9 วิธีสุขภาพดี ของ นพ.สมบูรณ์ อินทลาภาพร ขอขอบคุณ 9 วิธีสุขภาพดี ของ นพ.สมบูรณ์ อินทลาภาพร