Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
หลักการจัดการเรียนการสอน
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การเขียนโครงการ.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ADDIE Model.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การสร้างสื่อ e-Learning
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การประเมินผลการเรียนรู้
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์

ประเภทของวัตถุประสงค์ มี 2 ประเภทคือ วัตถุประสงค์ทั่วไป (General Objectives) วัตถุประสงค์เฉพาะหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Specific Objectives or Behavioral Objectives)

ส่วนประกอบของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ประกอบด้วย 3 ส่วน พฤติกรรมขั้นสุดท้าย หรือ พฤติกรรมที่คาดหวัง (Terminal Behavior) เงื่อนไขหรือ สถานการณ์ (Condition or Situation) เกณฑ์หรือมาตรฐาน (Standard or Criteria)

Terminal Behavior การแสดงออกของผู้เรียน เมื่อสิ้นสุดบทเรียนแล้วผู้เรียนแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา ซึ่งพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะต้องวัดได้หรือสังเกตได้ เช่น บอกส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง จำแนกหน่วยความจำที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ พิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ไม่น้อยกว่า 70 คำต่อ นาที

Condition or Situation เป็นข้อความที่บ่งถึงสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ หรือเงื่อนไข ที่จะให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่คาดหวังออกมา กำหนดได้ 3 ลักษณะ ลักษณะที่เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาบทเรียน ลักษณะของสิ่งเร้าเพื่อให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่คาดหวังออกมา ลักษณะที่เป็นเงื่อนไขของการกระทำ

Standard or Criteria เป็นส่วนที่ใช้ระบุความสามารถขั้นต่ำของผู้เรียนว่าจะต้องทำได้เพียงใด จึงจะยอมรับได้ว่าผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์แล้ว ลักษณะความเร็วหรือการบ่งเวลา ลักษณะปริมาณที่ต่ำที่สุด เป็นเกณฑ์ที่ไม่สามารถระบุเชิงความเร็วหรือปริมาณได้

การจำแนกวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม จำแนกตามลักษณะของการเรียนรู้ได้ 3 ส่วน ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านเจตพิสัย (Affective Domain)

Cognitive Domain วัตถุประสงค์ที่เน้นทางด้านความสามารถทางสมรรถภาพทางสมองหรือการใช้ปัญญา ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนำไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินผล (Evaluation)

Psychomotor Domain วัตถุประสงค์ที่แบ่งระดับพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะความชำนาญ การเลียนแบบ (Imitation) การปฏิบัติได้โดยลำพัง (Manipulation) การปฏิบัติได้ถูกต้องแม่นยำ (Precision) การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและผสมผสาน (Articulation) การปฏิบัติโดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ (Naturalization)

Affective Domain วัตถุประสงค์ที่เน้นความสามารถทางความรู้สึก อารมณ์ เจตคติต่อสิ่งต่างๆ การยอมรับ (Receiving) การตอบสนอง (Responding) การสร้างค่านิยม (Valuing) ดำเนินการ (Organization) แสดงลักษณะเฉพาะตนตามค่านิยม (Characterization by a Value)

สรุปการจำแนกวัตถุประสงค์

การจำแนกวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรียนคอมพิวเตอร์ Cognitive Domain การฟื้นคืนความรู้ (Recalled Knowledge) การประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) การส่งถ่ายความรู้ (transferred Knowledge) Psychomotor Domain Affective Domain

ข้อพิจารณาในการเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเป็นวัตถุประสงค์ที่บ่งถึงพฤติกรรมของผู้เรียนหลังจากที่ผ่านบทเรียนไปแล้ว จะต้องระบุด้วยคำกิริยาที่บ่งถึงการกระทำที่วัดได้หรือสังเกตได้ ต้องเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน ไม่ใช่พฤติกรรมผู้สอนหรือของบทเรียน ต้องประกอบด้วยพฤติกรรมที่คาดหวัง เงื่อนไข และเกณฑ์ที่สมบูรณ์

ข้อพิจารณาในการเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ครอบคลุมเนื้อหาสาระ สอดคล้องตรงตามหัวเรื่องเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน แต่ละข้อ วัดพฤติกรรมเพียงด้านเดียวหรืออย่างเดียวเท่านั้น ควรวัดพฤติกรรมให้ครบทุกด้าน และมีระดับความยากสอดคล้องกับระดับของผู้เรียน นิยมเขียนด้วยประโยคบอกเล่า มากกว่าการใช้ประโยคคำถามหรือประโยคปฏิเสธ เขียนด้วยประโยคหรือข้อความสั้นๆ ที่กระชับและได้ใจความ

ตัวอย่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม อธิบายขั้นตอนการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ได้ถูกต้อง บอกส่วนประกอบของฮาร์ดดิสค์ได้ วิเคราะห์อาการของคอมพิวเตอร์หลังจากติดไวรัสแล้วแล้วได้ อธิบายการทำงานของเครื่องพิมพ์ประเภทต่างๆได้

ระดับความยากของวัตถุประสงค์ Difficulty of Objective

ระดับความยากของวัตถุประสงค์ Difficulty of Objective ระดับของผู้เรียน (Level of Audience) ความยากของเนื้อหา (Difficulty of Content)

Objective Analysis จบการบรรยาย คำถาม

แบบฝึกหัด หน้า 170 ข้อ 1 – 7 และ ข้อ 11 – 13