2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
บทที่ 8 การเตรียม ประมวลผลข้อมูล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
Graphical Methods for Describing Data
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การจัดเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ ด้วย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวดำเนินการ(Operator)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 5 การวัดและการสร้างสเกล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง ดารณี ทิพย์สิงห์
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection

ขั้นตอนทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล

ข้อมูล (data) ข้อเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อาจจะเป็นตัวเลข หรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้ จำแนกจามวิธีการเก็บ แบ่งเป็น 2 ชนิด ปฐมภูมิและทุติยภูมิ จำแนกตามลักษณะของข้อมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ

ข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) เป็นลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ที่รวบรวมได้ ในรูปของตัวเลข เช่น จำนวนนักเรียน น้ำหนักทารกแรกเกิด ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในเขต กทม. ข้อดี/ข้อเสีย

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) เป็นลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ที่ไม่สามารถรวบรวมออกมาในรูปของตัวเลข เช่น ความพึงพอใจในการใช้สินค้าชนิดหนึ่ง ข้อดี/ข้อเสีย

สเกลวัดข้อมูล สเกลนามบัญญัติ (nominal scale) สเกลเรียงอันดับ (ordinal scale) สเกลอันตรภาค (interval scale) สเกลอัตราส่วน (ratio scale)

สเกลนามบัญญัติ (nominal scale) เป็นการวัดระดับต่ำสุด เป็นเพียงการเรียกชื่อหรือจำแนกประเภทของคุณลักษณะ หรือสิ่งของต่างๆ เช่น จำแนกผลลัพธ์จากการโยนเหรียญเป็นหัวหรือก้อย จำแนกบุคคลตามอาชีพ เช่นข้าราชการ ค้าขาย รับจ้าง มีการกำหนดตัวเลขเพื่อจำแนกสิ่งต่างๆ โดยตัวเลขดังกล่าวไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ เช่น บ้านเลขที่ หมายเลขโทรศัพท์ รหัสไปรษณีย์

สเกลเรียงอันดับ (ordinal scale) การวัดในระดับนี้เป็นการเรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตามลักษณะหนึ่งๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในลักษณะดีกว่า ยากกว่า หรือชอบมากกว่า เช่น แม่บ้านคนหนึ่งมีความนิยมผงซักฟอก 3 ยี่ห้อ เป็น ดีที่สุด ดีมาก และดี ซึ่งอาจมีการกำหนดตัวเลขให้แก่สิ่งต่างๆ โดยที่ “ตัวเลขดังกล่าวไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ จึงไม่สามารถ บวก ลบ คูณ หารกันได้”

สเกลอันตรภาค (interval scale) การวัดในระดับนี้จะมีคุณสมบัติการจำแนก และการจัดเรียงอันดับสิ่งต่างๆ แต่ละหน่วยของการวัดยังมีค่าคงที่ แต่ละช่วงมีขนาดเท่ากัน ซึ่งทำให้สามารถระบุความแตกต่างระหว่างสิ่งต่างๆ ว่ามีมากน้อยเพียงใด แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น การวัดอุณหภูมิ ค่าสถิตินำมาบวก ลบ คูณ หารกันได้ แต่ไม่มีความหมาย

สเกลอัตราส่วน (ratio scale) เป็นการวัดระดับสูงสุดนอกจากจะมีคุณสมบัติต่างๆ เหมือนสเกลอันตรภาคแล้ว ยังมีศูนย์แท้เป็นจุดเริ่มต้น นั่นคือ 0 หมายถึงไม่มีอะไรเลย เช่น หนัก 0 กิโลกรัม แสดงว่าไม่มีน้ำหนักเลย ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากการวัดในระดับนี้ จึงนำมาบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งได้ 2 วิธี คือ สำมะโน (census) การสำรวจด้วยตัวอย่าง (sample survey)

สำมะโน (census) เป็นวิธีการเก็บข้อมูล โดยการแจงนับทุกหน่วยของประชากร ซึ่งอาจเป็นการแจงนับโดยการ นับ วัด หรือ ชั่ง การสัมภาษณ์ที่มีการเผชิญหน้ากัน ตลอดจนการอาศัยสื่อกลางต่างๆ

การสำรวจด้วยตัวอย่าง (sample survey) เป็นวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการแจงนับ บางหน่วยของประชากร โดยแต่ละหน่วยของประชากรที่ถูกแจงนับจะเป็นไปโดยสุ่ม การเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัดเวลาและงบประมาณ